Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วย ก่อน-หลังผ่าตัด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วย
ก่อน-หลังผ่าตัด
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ประเมินผู้ป่วย
ซักประวัติ
ประวัติโรคประจำตัว การผ่าตัด แพ้ยาแพ้อาหาร
การใช้ยา สารเสพติด บุหรี่ สุรา
ประวัติคนในคอบครัวที่มีปัญหาเกี่ยวยาระงับความรู้สึก
ตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ประเมินระบบหายใจ ตรวจร่างกายที่เกี่ยวกับโรค
หรือบริเวณที่จะผ่าตัด
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อบ่งชี้และการตรวจพิเศษอื่นๆ
ข้อแนะนำการส่งตรวจ
การเตรียมผู้ป่วย
เตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินความสัมบูรณ์ของร่างกาย
ภาวะสารน้ำ และอีเล็คโทรไลต์
ให้คำแนะนำต่างๆ
ด้านจิตใจ
ประเมินความตกกังวล และแก้ไขเกี่ยวกับความเชื่อผิดๆ
ให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Early ambulation ยกเว้น ผู้ป่วยAbsolute bed rest
Quadriceps Setting Exercise ( QSE ) เหยียดขา กดเข่า กระดกเท้า เกร็ง 5 วินาที แล้วคลาย พักแล้วเริ่มใหม่
Straight Leg Raising Exercise ( SLRE ) นอนราบยกขา 45 ถึง 60 และอาจถึง 90 องศา เกร็งขา 5 วิ วางขาลง พักแล้วเริ่มใหม่
Range of Motion ( ROM ) เคลื่อนไหวในทุกทิศทางของข้อต่างๆ ได้อย่างอิสระ
Deep-breathing exercises นอนหงายหัวสูง กำมือหลวมๆ และวางมือสองข้างบนอก กลั้นหายใจนับ1-5 ค่อยผ่อนออกทางปากและจมูก ซ้ำ 15 ครั้ง วันละ 2 ครั้ง
Effective cough นั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย ประสานมือสองข้าง กดเบาๆ หายใจเข้าออกให้เต็มที่ ให้ไอ 3-4 ครั้ง อ้าปาก ไอแรงๆ อย่างเร็ว 1-2 ครั้ง
Abdominal breathing ผ่าตัดบริเวณทรวงอก ให้หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทน 8-10 ครั้ง ทุก 2 ชั่วโมง
Turning and ambulation ควรทำทุก 2 ชม. พลิกตัวไปทางขวา ให้ขยับตัวไปทางซ้าย ใช้มือซ้ายจับราวยันที่นอนพยุงตัวขึ้น ควรทำทันทีที่อาการดีขึ้น
Extremity exercise นอนหัวสูงเล็กน้อยหรือท่าสบาย ออกกำลังกายแขนหรือขาทีละข้าง โดเหยียดออก งอเข้าทุกข้อ
Pain management หลังผ่าตัดจะได้รับการระงับการเจ็บป่วยด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
เตรียมผู้ป่วยก่อนวันผ่าตัด
ควรงดอาหารก่อน 8 ชั่วโมง
ขับถ่าย
ผ่าตัดเล็ก ไม่ให้สายสวนก็ได้
ผ่าตัดใหญ่ จะใส่ก่อนผ่าตัด
เตรียมผิว
ศีรษะ โกนผม เช็ดหู ช่องหู
คอ โกนขนอ่อน
ทรวงอก คอตอนบนถึงสะดือ และขนอ่อน
ช่องท้อง รักแร้ถึงฝีเย็บ
ท้องต่ำกว่าสะดือ ราวนมถึงต้นขา
ไต รักแร้ถึงอวัยวะสืบพันธ์ุและต้นขา
อวัยวะสืบพันธ์ุและทวารหนัก สะดือถึงฝีเย็บ และด้านในต้นขาและก้น
แขน ข้อศอก มือ หัวไหล่ถึงปลายนิ้วมือ โกนขนรักแร้ ตัดเล็บ
สะโพก ต้นขา เอวลงมาถึงเข่า ด้านหน้าหลัง อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
ทำskin graft ให้กว้าง
หัวเข่า ขาหนีบถึงข้อเท้าข้างหน้า
ปลายขา เหนือเข่า 8 นิ้ว ถึงเท้า ตัดเล็บ
เท้า ใต้หัวเข่าถึงเท้า ตัดเล็บ
ดูแลสภาพร่างกาย
คืนก่อนผ่าตัด
ทำความสะอาดปาก ฟัน ถอดฟันปลอม และไม่แต่งหน้า
ถอดของมีค่า สื่อไฟฟ้าต่างๆให้ญาติ
เช้าวันผ่าตัด
ทำความสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุด หวีผม
สังเกตภาวะทางอารมณ์ และสภาพร่างกายทั่วไป
ให้ยาคืนก่อนผ่าตัด และก่อนผ่าตัด 45-90 นาที ลดความเครียด
เตรียมเครื่องมือต่างๆที่พิเศษ
แผ่นบักทึกรายงานต่างๆ
ส่งผู้ป่วยนอนราบเข้าห้องผ่าตัด
เตรียมผ่าตัดฉุกเฉิน
เจาะเลือดส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที
ให้ถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุด อาจใส่สายสวน
ทำความสะอาดและเตรียมผิวให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
วัดและบันทึกอาการ สัญญาณชีพ รวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัด
ถ้าผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทราบทันที
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและออกกำลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
แบบแผนอาหารและเผาผลาญ
ภาวะโภชนาการ การเสียน้ำและเกลือแร่
แบบแผนขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด การทำงานของไต
แบบแผนการรับรู้และดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ
แบบแผนการปรับตัวและเผชิญกับความเครียด
ประเมินการตอบสนองต่อความเครียด
กิจกรรมหลังผ่าตัด
ส่งเสริมหายใจให้โล่ง
จัดท่านอนราบไม่นุนหมอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง พลิกตัวบ่อยๆ
สังเกตการหายใจ กระตุ้นให้หายใจลึกๆ เมื่อผิดปกติให้รายงายแพทย์
ส่งเสริมการทำงานระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
วัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
สังเกตบาดแผลและปริมาณสารคัดหลั่งต่างๆ บันทึกข้อมูล
บรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
ประเมินความเจ็บปวดของผู้ปุวยโดยใช้ Pain scale ดูและให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
กระตุ้นให้หลั่งเอนโดรฟินเพื่อลดความเจ็บปวด
ส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ลุกจากเตียงป้องกันท้องอืด
ดูแลให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ
ส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ดูแลความสะอาด และสุขสบายทั่วไป
ส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ ทำความสะอาด สอนและให้คำแนะนำเรื่องการดูแลแผล
สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การดูแล สังเกตอาการ อาการแสดง
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ
ภาวะโภชนาการ
ดูแลความสะอาด
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
ประเมินผู้ป่วย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ท่าที่เหมาะสม ระยะเวลาในการเปลี่ยนท่า
ความลำบาก ไม่สุขสบาย
ปฏิบัติการพยาบาล
เตรียมผู้ป่วย ล็อคล้อเตียง แจ้งผู้ป่วย ให้สัญญาณขณะเลื่อนผู้ป่วย
เตรียมตัวพยาบาล ทำให้ถูกต้อง นุ่มนวล และมั่นคง ถ้ามีพยาบาลมากกว่า 1 ให้ทำด้วยความพร้อมเพียงกัน
จัดท่าผู้ป่วย
นอนหงาย นอนหงายหน้าขึ้น ศีรษะ คอ ไหล่อยู่บนหมอน เท้าตั้งฉาก 90 องศา
นอนตะแคง เป็นท่าที่ควรเปลี่ยนให้หลังจากนอนหงายมาระยะหนึ่ง
นอนคว่ำ ท้องแนบกับที่นอนเอียงหน้าไปด้นใดด้านหนึ่ง สะโพกไม่งอ
นอนตะแคงกึ่งคว่ำ คล้ายกับท่านอนตะแคงต่างกันที่ท่านอนนี้แขนล่างจะอยู่ทางด้านหลังของลำตัว
นั่งบนเตียง จัดท่าใหัสบายโดยให้ศีรษะสูง 30-90 องศา
นอนหงายชันเข่า ท่าที่ใช้เตรียมตรวจ หรือทำการพยาบาลโดยเฉพาะ
นอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง จุดประสงค์คล้ายกับนอนหงายชันเข่า แต่ต่างที่ต้องใช้ในเตียงมีขาหยั่ง
นอนคว่ำคุกเข่า นอนคว่ำยกก้นขึ่น ขาตั้งฉากกันที่นอน คลุมผ้า ถอดกางเกง
นอนศีรษะต่ำปลายเท้าสูง โดยยกเตียงส่วนปลายเท้าให้สูงขึ้นด้วยการใส่บล็อกที่ล้อเตียง และเอาหมอนหนุนศีรษะออก
เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการ
จัดให้ผู้ป่วยนอนหงาย
เข้าหาผู้ป่วยในทิศที่จะเคลื่อนย้าย
ยืนในท่าที่มั่นคง และถูกต้อง
พยายามหาวิธีที่เหมาะกับผู้ป่วย
อยู่ใกล้พยาบาลมากสุด
ประเมินผู้ป่วย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ที่ข้อห้าม ส่วนที่พิการ อ่อนเพลีย
ความต้องการเปลี่ยนท่าและสุขสบาย
วิธีย้าย
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ และขอความร่วมมือ
นำหมอนและอุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นออกจากเตียง
พยุงผู้ป่วยด้วยความนิ่มนวล และมั่นคง
ช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
ช่วยผู้ป่วยหัดเดิน
โดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว ให้ใช้มือสองข้างยึดเข็มขัดหรือผ้าคาดเอวช่วยพยุงผู้ป่วยขณะเดิน
กรณีไม่ใช่ใช้เข็มขัด มือใกล้ตัวจับต้นแขนของผู้ป่วย และมือไกลตัวจับปลายแขนของผู้ป่วย
โดยพยาบาล 2 คน
พยาบาลยืนแต่ละข้าง และสอดมือรับน้ำหนักตัว และแยกเท้ากว้าง และค่อยๆวางตัวผู้ป่วยลงบนพื้น
ออกกำลังกายเตรียมเดิม
งอและเหงียดข้อตะโพก เหยียดขาออก งอเข่าเข้าหาอก พร้อมงอนิ้วเท้าโค้งหาปลายขา แล้วเหยียดออก
หมุนข้อตะโพก เหยียดขาสองข้าง หมุนเข้าหาตัวจนหัวแม่โป้งชนกัน และหมุนออกจากตัวส้นเท้าชนกัน
กางและหุบข้อตะโพก เหยียดข้อเข่าและข้อเท้างอเข้าหาปลายขา ยกขาข้างที่ทำไปที่ข้างเตียงทั้งสองด้าน สลับทำกับอีกข้าง
เหยียดข้อเข่า เหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน ยกส้นเท้าขึ้นให้สูง สลับทำกับอีกข้าง
งอเท้า และหมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและแแกจากตัว งอและเหยียดนิ้วเท้า
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา แล้วหายใจลึกๆ ให้กล้ามเนื้อหาท้องขยายมากที่สุด
ช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดอุปกรณ์
Parallel bar ราวคู่ขนาน ปรับความสูงตามผู้ป่วย
Walker หรือ Pick-up frames เป็นอะลูมิเนียม ค่อนข้างมั่นคง
Cane ไม้เท้าอันเดียว
Crutches ไม้ยันรักแร้ ไม้ค้ำยัน
ประโยชน์ของอุปกรณ์
แบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแขนขา 1 หรือ 2 ข้าง
เพิ่มการพยุงตัว
เตรียมตัวก่อนฝึกใช้อุปกรณ์
ฝึกความแข็งแรง ทนทาน และความสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ
ฝึกในท่าตั้งตรงบนเตียงหรือเบาะ
ฝึกในราวคู่ขนาน
การลงน้ำหนัก
Non weight bearing ( NWB ) ไม่ลงน้ำหนักขาข้างที่เจ็บ
Toe touch weight bearing ( TTWB ) เดินโดยเอาปลายเท้าข้างที่เจ็บแตะพื้น
Partial weight bearing ( PWB ) เดินโดยลงน้ำหนักข้างที่เจ็บบางส่วน
Full weight bearing ( FWB ) เดินโดยขาข้างที่เจ็บลงน้ำหนักได้เต็มที่
Weight bearing as tolerated ( WB AS Tol. ) เดินโดยขาข้างที่เจ็บลงน้ำหนักเท่าที่ทนไหว
รูปแบบการเดิน
Four-point gait มั้นคงสุด จุดรับน้ำหนัก 3 จุด เท้าอยู่หลังอุปกรณ์ช่วย 6-8 นิ้วเสมอ
Two-point gait ใช้การทรงตัวมากกว่า ใช้ได้กับไม้ค้ำยัน และไม้เท้า
Three-point gait ใช้บ่อย ใช้ในกรณีขาข้างนึงรับน้ำหนักไม่ได้ หรือรับได้บางส่วน
Swing-through gait ทำให้เดินได้เร็วขึ้นกว่าวิธีขึ้น มั่นคงน้อยสุด
Swing-to gait เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยที่มีการจำกัดในการใช้ขาสองข้าง
วิธีฝึกใช้อุปกรณ์
ไม้ค้ำยันรักแร้
วัดขนาด
ท่านอน ให้นอนหงาย วัดจากAnterior auxiliary fold ถึงส้นเท้า บวก 1 นิ้ว
ท่ายืน ให้ถือ Auxiliary crutches ปลายไม้ห่างนิ้วก้อยด้านข้างและด้านหน้า 6 นิ้ว
สอนเดิน
4-Point gait
ไม้ซ้าย ขาขวา ไม้ขวา ขาซ้าย
2-Point gait
ไม้ซ้าย+ขาขวา ไม้ขวา+ขาซ้าย
3-Point gait
ไม้ 2 ข้าง ขาที่มีปัญหา ขาที่ดี
Swing-to gait
ไม้ 2 ข้าง ยกและเหวี่ยงตัวไปถึงระดับไม้ อาจสวมอุปกรณ์เสริมขา
Swing-through gait
ไม้ 2 ข้าง ยกและเหวี่ยงตัวไปจนเลยระดับไม้ ใช้แรงมาก
เดินขึ้นบันได
ยกขาที่ดี ขาที่มีปัญหา ตามด้วยไม้ค้ำยัน
เดินลงบันได
ยกไม้ก่อน ขาที่มีปัญหา ตามด้วยขาที่ดี
Lofstrand crutch
วัดขนาด
ให้ปลายไม้ห่างจากนิ้วก้อยไปด้านข้าง 6 นิ้ว
จับแล้วศอกละงอ 20-30 องศา
สอนเดิน
เดิน Point gait แต่เดิน Swing gait ไม่ได้
Platform crutch
วัดขนาด
ให้ปลายห่างจากนิ้วก้อย 6 นิ้ว ระดับงอศอก 90 องศา
สอนเดิน
เช่นเดียวกับ Auxiliary crutches
ไม้เท้า
วัดขนาด
ปลายไม้ห่างจากนิ้วก้อยไปด้านข้าง 6 นิ้ว
สอนเดิน
มือด้านตรงข้ามกับขาที่มีปัญหา เคลื่นสลับกัน
รูปแบบการเดิน
เดินราบ
3-Point gait ยกไม้เท้าไปข้างหน้า ขาข้างที่มีปัญหา ยกขาที่ดีตาม
2-Point gait ยกไม้เท้าพร้อมขาที่มีปัญหา ยกขาที่ดีตาม
เดินขึ้น-ลงบันได
ขึ้นบันได ขาที่ดี ขาที่มีปัญหา ตามด้วยไม้เท้า
ลงบันได ไม้เท้า ขาที่มีปัญหา ตามด้วยขาที่ดี
ไม้เท้า 3 ขา
วัดขนาด
ให้แกนไม้ห่างจากนิ้วก้อยไปด้านหน้า 6 นิ้ว ขาทั้ง 3 อยู่ด้านนอก ให้ศอกงอ 20-30 องศา
สอนเดิน
เช่นเดียวกับไม้เท้าขาเดียว
Walker
วัดขนาด
ความสูงระดับจับตรงกับ Greater trochanter แล้วศอกงอ 20-30 องศา
สอนเดิน
ต้องให้ทั้ง 4 ขา ถึงพื้นพร้อมกัน
แบบแผน
ยกไปด้านหน้า ห่าง 1 ช่วงแขน ขาที่มีปัญหา ตามด้วยขาที่ดี
การออกกำลังกาย และการเคลื่อนไหวร่างกาย
ออกกำลังกาย
ให้ผู้ป่วยทำเอง
ผู้ป่วยจะทำการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายด้วยตัวเอง
ให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
ให้ผู้อื่นช่วยเคลื่อนไหว กรณีผู้ป่วยขยับตัวไม่ได้
ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
เห็นผลดีกว่าวิธีอื่น กระตุ้นกล้ามเนื้อทำงานร่วมกัน
ให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
ให้เกร็งกล้ามเนื้อ ประมาณ 6 วินาที แล้วผ่อน
ให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
ใช้เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน ไม่ให้กล้ามเนื้อลีบ
เคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ร่างกายเป็นปกติ
ป้องกันไม่ได้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูกและกล้ามเนื้อ
ลดความเมื่อยล้า หรือใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
แรงกดทับ เสียดสี ดึงรั้ง
เซลล์ตายลุกลามจนเกิดแผล
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง ปวดหลัง
กล้ามเนื้อประสานงานลดลง และอ่อนแรง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานหนัก ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
มีการคั่ง และเกิดลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีเสมหะคั่งมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจ ท้องผูก
ระบบเมทาบอลิซึมและการเผาผลาญ
เผาผลาญอาหารและโปรตีนในกระแสเลือดลดลง
อัตมโนทัศน์ และภาพลักษณ์ผิดปกติ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะมากในช่วงแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะ และนิ่วในไต
กระบวนการพยาบาล
กระประเมินสภาพผู้ป่วย
การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
ความรู้เกี่ยวกับโรคและการผ่าตัด
ความยิมยอมที่จะเข้ารับการผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล
และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ