Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ - Coggle Diagram
บทที่ 3
การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
3.1 การตรวจร่างกาย
oการตรวจร่างกาย เป็นการประเมินโครงสร้างและหน้าที่ หรือลักษณะทางกายภาพ และหน้าที่ของร่างกาย โดยใช้เทคนิคการดู คลา เคาะ ฟัง ในการตรวจร่างกาย
เทคนิคการตรวจร่างกาย
การดู (Inspection)
การคลำ (Palpation)
การเคาะ (Percussion)
การฟัง (Auscultation)
ลักษณะทั่วไป ผิวหนัง
ผม ขน เล็บ
ลักษณะทั่วไป
การรู้สติและสภาวะทางด้านจิตใจ
ภาวะสุขภาพที่ปรากฎ
อาการแสดงของภาวะผิดปกติไม่สุขสบาย
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
กิริยา อารมณ์และความร่วมมือในการตรวจ
เสียงและการพูด
ท่าทาง การเคลื่อนไหว และท่าเดิน
การแต่งตัวและสุขวิทยาส่วนบุคคล
กลิ่นลมหายใจและกลิ่นตัว
สีหน้าที่แสดงออก
การตรวจผิวหนัง การตรวจผิวหนัง (Skin) ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
สีผิว (skin color)
ลักษณะผิว (skin texture)
ความตึงตัว (skin turgor)
อุณหภูมิของผิวหนัง (temperature)
ความชุ่มชื้น (moisture)
เม็ดผื่นหรือตุ่ม (skin lesion)
จุดเลือดออก
การบวม (edema)
การตรวจผมและขน
การตรวจผม ใช้เทคนิคการดู คลา และดมกลิ่น ร่วมกัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อดูปริมาณ การกระจายของผมและขน ลักษณะ และสุขวิทยาของผมและขน
การตรวจเล็บ
การตรวจเล็บใช้การดูและคลา มีจุดมุ่งหมาย ดูสี รูปร่าง ลักษณะเล็บ และค้นหาความผิดปกติ
ศีรษะ ใบหน้า คอ
และต่อมน้าเหลือง
การตรวจศีรษะ
การตรวจศีรษะ ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การตรวจใบหน้า
การตรวจใบหน้า ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
การตรวจคอ
การตรวจคอ ใช้เทคนิค การดูและการคลำ เป็นการตรวจการทางานของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid และ trapezius
การตรวจหลอดลมคอ
การตรวจหลอดลมคอ (trachea) ใช้เทคนิค การคลำ ให้ผู้ใช้บริการอยู่ในท่านั่งหรือนอนหงาย หน้าตรง ก้มคอลงเล็กน้อยเพื่อให้กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid หย่อน ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือที่ถนัด แยงที่บริเวณ suprasternal notch ให้นิ้วอยู่ 2 ข้างของหลอดลมคอ สังเกตความสะดวกในการแยง และสังเกตเนื้อนุ่มๆที่คลำ
การตรวจต่อมไทรอยด์
การตรวจต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
การตรวจต่อมน้าเหลือง
การตรวจต่อมน้าเหลือง (lymphnode) ใช้เทคนิคการดูและการคลำ โดยจะหาขนาด ความยืดหยุ่น ความยึดติดกับเนื้อเยื่อ การอักเสบและผิวหนังที่ปกคลุม ดังนั้นการตรวจต่อมน้าเหลืองต้องรู้ตาแหน่งกายภาพ
การตรวจต่อมน้าลาย parotid grand
อาจตรวจพร้อมกับการคลาต่อมน้าเหลือง การตรวจจะสังเกตรูปร่าง ขนาด ความหนาแน่น การกดเจ็บ การเคลื่อนไหว ซึ่งปกติจะไม่เห็น แต่ถ้าโตขึ้นจะพบก้อนอยู่ด้านหน้าหู
ตา หู จมูก ปาก
การตรวจตา ใช้เทคนิค การดู การคลา และทดสอบหน้าที่
จุดมุ่งหมายหลัก คือ
ตรวจความสามารถในการมองเห็น (visual acuity)
ตรวจลานตา (visual field)
ตรวจเคลื่อนไหวของลูกตา (extraocular movement)
ตรวจตาแหน่งตา ลูกตา และบริเวณรอบตา
ตรวจรูม่านตา (pupils)
ตรวจความใสของของกระจกตา (cornea)
ตรวจตาขาวและเยื่อบุลูกตา (sclera and conjunctiva)
การตรวจหู ใช้เทคนิค การดู การคลา จุดประสงค์ เพื่อดูลักษณะโครงสร้างภายนอก ค้นหาตาแหน่งกดเจ็บและความผิดปกติ ตรวจสอบการได้ยิน
การจมูกและโพรงอากาศ ใช้เทคนิค การดู การคลา และทดสอบการได้กลิ่น
การตรวจปากและช่องปาก ใช้เทคนิค การดู สังเกตริมฝีปาก สี ลักษณะ แผล หรือความผิดปกติ ให้ผู้ใช้บริการอ้าปาก เงยหน้าขึ้น ใช้ไฟฉายและไม้กดลิ้นช่วยให้เห็นชัดขึ้น ตรวจฟัน เหงือก ลิ้น กระพุ้งแก้ม เพดานปาก ลิ้นไก่ ทอนซิล และผนังคอหอย โดยกดไม้กดลิ้นตรงกลาง ใกล้โคนลิ้น หรือ 1/3 จากโคนลิ้น (middle third) โดยไม่ต้องแลบลิ้น ในขณะเดียวกันให้ผู้รับบริการร้องอา เพดาน ปากและลิ้นไก่ยกขึ้น จะทาให้เห็นคอหอยชัดเจน
การตรวจเต้านมและรักแร้
การตรวจเต้านม (Breast) ใช้เทคนิค การดู การคลำ
การตรวจรักแร้ ใช้เทคนิค การดู การคลำ