Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การประเมินการตรวจร่างกาย การตรวจระบบกล้ามเนื้อและกระดูก 0BDB6F2B…
บทที่3 การประเมินการตรวจร่างกาย การตรวจระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
-
การตรวจร่างกายระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ การตรวจร่างกายระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ ประกอบด้วยขั้นตอนการดูการคลําหรือการวัด
การดู (Inspection) สังเกตโครงสร้างร่างกายโดยสังเกตลักษณะการยืนตรง โดยให้ดูทั้งด้านหน้า หลังและด้านข้าง เปรียบเทียบความสมมาตรของร่างกายซีกซ้ายและขวา หลังตั้งตรงและมีความโค้งของกระดูกสันหลังตามปรกติ สังเกตขนาดและความสมมาตรของกล้ามเนื้อ ถ้ามีกล้ามเนื้อลีบทั้งสองข้างจะบ่งบอกถึงการขาดเส้นประสาทไปเลี้ยงบริเวณนั้น
การคลำ (Palpation) คลําบริเวณผิวหนังเพื่อสัมผัสให้ทราบถึงอุณหภูมิความรู้สึก ความอ่อนนุ่ม (Texture) และความตึงตัว (Tone) คลําดูลกษณะการเจ็บปวดบวม และร้อน ตรวจลักษณะขนาดผิดรูปร่างหรือความสั้นยาวของกระดูก
การวัด (Measurement) การวัดเปนการตรวจวิธีหนึ่งเพื่อให้ได้ทราบขนาดของแขน ขา ความยาวของแขน ขาและขนาดมุมของการเคลื่อนไหวของข้อ
การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด (Range of motion) การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัดของข้อต่างๆเพื่อทดสอบว่ามีอาการเจ็บปวดกลามเนื้อขณะเคลื่อนไหว (Pain on movement) ความมั่นคงของข้อ(Joint stability) และความผิดรูป (Deformity) วิธีการคือให้ผู้รับบริการเคลื่อนไหวสวนต่างๆของร่างกาย ตามที่พยาบาลบอกขณะเคลื่อนไหวถ้ามีอาการ เจ็บ ร้อน บวม มีเสียงกรอบแกรบ ผิดรูป หรือ ติด แสดงถงอาการผิดปกติของข้อนั้น ซึ่งควรได้รับการตรวจในขั้นตอนต่อไป
-
ข้อสะโพก Extension: แกว่งขากลับมาชิดกัน Internal rotation: บิดเข่าเข้าหาลําตัว External rotation: บิดเข่า
ออกนอกลําตัว
นิ้วมือ Flexion: กํามือ Extension: เหยียดมือ Hyperextension: แอ่นนิ้วมือขึ้นให้มากที่สุด Abduction: กางนิ้วออก
-
-
-
ลําคอ Flexion:ก้มให้คางจรดอก Extension:เงยหน้าตรง Hyperextension: แหงนหน้าไปด่านหลังให้มากที่สุด Lateral flexion:เอียงศีรษะไปชิดกับไหล่ซ้ายและขวาให้มากที่สุด
-
การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Test of muscle strength) ทดสอบความแข็งของกล้ามเนื้อ โดยการให้ผู้รับบริการเคลื่อนไหวข้อ นั้นๆ เต็มที่ แล้วออกแรงต้านกบแรงของพยาบาล เปรียบเทียบความแข็งแรงของอวัยวะทงั้ 2 ข้าง มักจะพบว่าข้างที่ผู้รับบริการถนัดมักจะมีความแข็งแรงมากกว่าข้างที่ไม่ถนัด แต่ไม่ควรใช้แรงทดสอบมาก ณ บริเวณทที่มีอาการเจ็บปวด
การตรวจกล้ามเนื้อและข้อแต่ละส่วน 1. Temporo mandibular joint (TMJ) 2.ข้อต่อบริเวณกระดูกหน้าอกและไหปลาร้า (Sternoclavicular joint) 3. กระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical spine) 4. กระดูกสันหลังส่วนอกและเอว (Thoracic and lumbar spine)
วิธีการทดสอบกําลังของกล้ามเนื้อ 1. Isometric testing คือ การทดสอบโดยผู้รับบริการ เกร็งกล้ามเนื้อ 2. Isotonic testing คือ การทดสอบโดยผู้รับบริการพยายามออกแรง การเคลื่อนไหวข้อในขณะที่พยาบาลออกแรงต้านเพื่อขัดขวางการเคลื่อนไหว
การคลำ คลำบริเวณด้านหลังลําคอ กระดูก สันหลัง เพื่อหาแนวของกระดูกสันหลังและอาการกดเจ็บปกติกระดูกสันหลังจะอยู่ในแนวตรงและกดไม่เจ็บ ถ้ากดเจ็บแสดงถึงอาการอักเสบ เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ (Myositis) หรือหมอนรองกระดูกสันหลังเลื่อน (Herniated vertebral disk)
สรุป การประเมินภาวะสุขภาพของระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ พยาบาลจะใชหลักการดู คลำ และมีการวัด เป็นหลักการสําคัญของการตรวจร่างกาย จะไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงกับการประเมินภาวะสุขภาพระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อและในบางรายอาจจะต้องได้รับการตรวจพิเศษเพื่อวินิจฉัยแยกโรค เพื่อให้ผลการตรวจที่แม่นยํา
-
-
-
-