Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางเมตตาบอลิซึม - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางเมตตาบอลิซึม
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำ
ระหว่างการตั้งครรภ์จะมีการคั่งของน้ำเพิ่มขึ้นทั้งในเซลล์และนอกเซลล์
โดยสะสมอยู่ในเลือด มดลูก เต้านม น้ำคร่ำ รกและทารก
โดยจะเริ่มเมื่อายุครรภ์30สัปดาห์จากการซึมผ่านของเส้นเลือดฝอย การเพิ่มแรงดันหลอดเลือดในอวัยวะส่วนร่างร่างกาย การลดลงของโรตีนในพลาสม่า และการเพิ่มการดูดกลับของไต
การเปลี่ยนแปลงนี้อาจจำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดอาการบวมกดบุ๋ม
เมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
ระยะแรกเอสโตเจนและโปรเจสเตอร์โรนจากรก มีผลต่อ beta cell-ของตับอ่อน ทำให้มีการหบั่งอินซูลินเพิ่มมากขึ้น
เมตาบอลิซึมของโปรตีน
โปรตีนจะถูกสังเคราะห์เพิ่มมากขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการเนื้อเยื่อต่างๆที่เจริญระหว่างตั้งครรภ์
เมตาบอลิซึมของแร่ธาตุต่างๆ
ธาตุเหล็ก
ร่างกายมีความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มมากขึ้น ซึ่งไม่สามารถได้รับเพียงพอจากอาหาร จึงจำเป็นต้องรับประทานธาตุเหล็กจากรูปแบบยาบำรุงเลือด
แคลเซียม : ในระหว่างตั้งครรภ์จะลดลงเล็กน้อย ร่างกายต้องการแคลเซียมเพิ่มมากขึ้นในช่วงหลังของการตั้งครรภ์
ฟอสฟอรัส:ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน
การเกืดตะคริวในหญิงตั้งครรภ์
สาเหตุ
ความไม่สมดุลระหว่างแคลเซียมและฟอสฟอรัส ปริมารแคลเซียมที่ลดลง ไม่เพียงพอขณะตั้งครรภ์ ในไตรมาสสุดท้ายทารกจะดึงแคลเซียมจากมารดาไปใช้ในการเสริมสร้างกระดูกและฟัน ทำให้มารดาขาดแคลเซียม
เลือดไหวเวียนไม่สะดวก จากการทำงานมากๆหรือการนั่งไขว้ขา การนั่งท่าใดท่าหนึ่งนานๆและการสวมใส่กางเกงหรือถุงน่องที่รัด
ท้องมีขนาดโตมากขึ้น มดลูกจะไปกดทับบริเวณตำแหน่งอุ้งเชิงกราน ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก ส่งผลให้กล้ามเนื้อบริเวณน่องขาดออกซิเจนและเป็นตะคริว
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงการกดปลายเท้าลง (Plantar flexion) และการนั่งไขว้ขวา
หลีกเลี่ยงการยืนนานๆ หรือนั่งห้อยเท้านานๆ
สวมรองเท้าส้นเตี้ย
หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้า หรือสวมถุงน่องที่รัดแน่น
ถ้ามีอาการปวดตะคริวมากจนเดินไม่ได้ ให้สตรีตั้งครรภ์เหยียดน่องและใช้มือกดที่หัวเข่าข้างที่เป็นตะคริวให้เหยียดตรงและกระดกปลายเท้าขึ้น หรืออาจให้สามีหรือญาติช่วยจับปลายเท้าข้างที่เป็นตะคริวให้กระดกขึ้น