Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การด าเนินงานด้านการทูตฝ่ายทหารของไทยในปัจจุบัน - Coggle Diagram
การด าเนินงานด้านการทูตฝ่ายทหารของไทยในปัจจุบัน
วัตถุประสงค์
ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ประเทศไทย ๒๕๘๐
รัฐธรรมนูญปัจจุบันในหมวด ๕ มาตรา ๕๒
ได้รับการยอมรับจากประชาคมระหว่างประเทศ
สามารถอยู่ร่วมกับชาติอื่นๆในสังคมโลกอย่างมีสันติสุข
เป็นประเทศที่มีเกียรติ ศักดิ์ศรี
วัตถุประสงค์มูลฐานด้านความมั่นคงของประเทศอีกสามประการ
สถาบันหลักของชาติ
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สถานการณ์ภายในประเทศมีความสงบเรียบร้อย
ประเทศมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคามทางทหาร
พันธกิจที่สําคัญสองประการ
การเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านกลุ่มประเทศอาเซียน มิตรประเทศอื่น ๆ และองค์การระหว่างประเทศ
การปฏิบัติการเพื่อสันติภาพภายใต้กรอบสหประชาชาติ เพื่อธํารงเกียรติและศักดิ์ศรีของกองทัพไทยในประชาคมโลก
สนับสนุนการดําเนินงานในพันธกิจอื่น ๆ อีกสี่ประการ
นํามาซึ่งการปกปูองเทิดทูน พิทักษ์รักษาสถาบัน
พระมหากษัตริย
ผลประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพกองทัพในการปูองกันประเทศ
รักษาอธิปไตย
และคุ้มครองผลประโยชน์ชาติทั้งในและต่างประเทศ
นํามาซึ่งการพัฒนากองทัพไทย การขยายการฝึกร่วม/ฝึกผสมกับเพื่อนบ้าน
อื่นๆ
ต้องนํามาซึ่งการปูองกันความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น
ช่วยแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่มีกับประเทศและองค์กรต่างๆ
และสามารถนํามาซึ่งการร่วมมือกันแก้ไขปัญหาภัยคุกคามที่มีร่วมกัน
ฟื้นฟูและพัฒนาความสัมพันธ์กับมิตรประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน
กลไก
กลไกทวิภาคี
กลไกความร่วมมือในระดับนโยบาย
ความร่วมมือในระดับกระทรวงกลาโหม
คณะกรรมการชายแดนทั่วไป ไทย –กัมพูชา / ไทย – มาเลเซีย
(General Border Committee, GBC)
กลไกความร่วมมือในระดับอ านวยการ
คณะกรรมการระดับสูง หรือ กรส. (High
Level Committee, HLC)
การประชุมประสานงานฝ่ายเสนาธิการระดับสูง
(Senior Staff Talk)
การพบปะหารือทวิภาคีของผู้น ากองทัพไทย
กับผู้น ากองทัพมิตรประเทศ
ความร่วมมือในระดับเหล่าทัพ
การพบปะของผู้นําเหล่าทัพ
กลไกความร่วมมือในระดับปฏิบัติการ
กลไกความร่วมมือด้านการข่าว
กลไกการประชุมคณะอนุกรรมการร่วมด้านการข่าว
กลไกความร่วมมือด้านยุทธการและปฏิบัติการ
การประชุมคณะอนุกรรมการร่วมด้านยุทธการกับมาเลเซีย
การประชุมคณะกรรมการชายแดนส่วน
ภูมิภาค (Regional Border Committee: RBC)
กลไกความร่วมมือด้านการฝึก
การฝึกผสมทางบก ภายใต้รหัส LAND EX THAMAL
การฝึกร่วม/ผสมไทย - มซ. เกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ
กลไกความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา
หลักสูตรวิทยาลัยปูองกันราชอาณาจักร
หลักสูตรเสนาธิการเหล่าทัพ เสนาธิการทหาร
กลไกความร่วมมือด้านการส่งก าลังบ ารุง
กลไกความร่วมมือด้านการรักษาสันติภาพและการ
ช่วยเหลือเพื่อมนุษยธรรม
กลไกพหุภาค
การก าหนดนโยบายด้านการทูตฝ่ายทหารของไทย
การก าหนดนโยบายของกระทรวงกลาโหม
การแลกเปลี่ยนการเยือนกับมิตรประเทศในทุกระดับ
การประชุมภายใต้กรอบความร่วมมือระดับทวิภาคีและพหุภาคี
การก าหนดนโยบายของกองทัพไทย
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ประเทศในกลุ่มอาเซียน ประเทศมหาอํานาจ และมิตรประเทศอื่นๆ
อลดปัญหาความขัดแย้ง โดยให้
ความสําคัญต่อการเป็นหุ้นส่วนที่ก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดร่วมกัน
โดยเฉพาะการรักษาสมดุลในด้าน
ความสัมพันธ์กับบรรดาประเทศมหาอํานาจ
ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้มีมาตรฐานใกล้เคียงกัน
เสริมสร้างความมั่นคงและรักษา
ความสงบเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชายแดนและพื้นที่ภายในประเทศ
อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทา
ภัยพิบัติแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนและมิตรประเทศเมื่อเกิดภัยพิบัติต่างๆ
๓ กลุ่ม
ในกลุ่มอาเซียน
มีพรมแดนทางบกหรือทางทะเลติดต่อกับไทย
ความสําคัญและความเร่งด่วนเป็น
ลําดับแรก
พรมแดนจะไม่ติดต่อกับไทย แต่ก็มีผลประโยชน์ร่วมกัน
กลุ่มประเทศมหาอํานาจ