Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัต…
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเกี่ยวกับเลือด
ค่าวิกฤติ คือ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มีความแตกต่างจากช่วงค่าปกติมาก หรือผลการตรวจที่ผิดปกติ
เลือด
1.พลาสมา ประกอบด้วย น้า 90% และ 10% เป็น โปรตีนภูมิต้านทานเพื่อทาลาย จุลชีพก่อโรค
2.เซลล์เม็ดเลือดขาว มีบทบาทในการ ฆ่า/ทาลายจุลชีพก่อโรค
เซลล์เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดที่มีสีแดงเนื้อเม็ดเลือดสร้างด้วย โปรตีน
. ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าการเจาะตัวอย่างเลือดในแขนท่ีกาลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดดาอาจทาให้ค่า คลาดเคลื่อน
การพยาบาล
1.ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวัง อาการ
2.ประเมินประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการติดเชื้อ อาจมี ผลทาให้ RBC ลดลง
3.ประเมินเกี่ยวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
บทบาท
จานวน หมายถึง จานวนเซลล์ของ WBC ต่อ 1 ลบ.มม หรือต่อ1ulวึ่งมีค่าเท่ากับ 1 ในล้านชองลิตร
มีหน้าท่ีในการต่อสู้ทาลายจุลชีพก่อโรค โดยสรุป WBC คือ เซลล์ที่มีบทบาทหน้าที่ในการเสริมสร้างภูมิต้านทาน(Antibody) เพื่อปกป้องร่างกาย
ภาวะที่ เกี่ยวข้อง
ค่าสูงกว่าปกติ: ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน(Acute infectionโรคเก่ียวกับการไหลเวียนเลือด(Circulatory disease)ค่าต่ำกว่าปกติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน(Acute leukemia) โรคเบาหวาน (Diabetic), ไข้มาลาเรีย(Malaria),
การพยาบาล
1.คอยสังเกตและบันทึกอาการการติดเชื้อ
2.ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้เกิดเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ(Leukopenia) จากการติดเชื้อ จนกว่าร่างกายจะไม่มีปัญหาติดเชื้อ
3.ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ทาให้เพิ่มหรือลด จานวน WBC ได้
Erythrocyte
Indices ดัชนีเม็ดเลือดแดง
Mean Corpuscular Volume
(MCV) ปริมาตรของเม็ดเลือดแดง
โดยเฉลี่ย
Mean Corpuscular Hemoglobin(MCH) ปริมาณเฉลี่ยของ
ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
Red cell distribution
width (RDW) ความ
กว้างของการกระจายของเลือด
Mean Corpuscular Hemoglobin
Concentration (MCHC)
การตรวจขาดและประเมินฮีโมโกบินในเม็ดเลือดแดง
เป็นปริมาตรหรือขนาดของเม็ดเลือดแดงสาเหตุที่พบบ่อยที่ท าให้เม็ดเลือดแดงมีปริมาตรลดลงได้แก่ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กและโรคโลหิตจางธัลลัสซีเมีย
เป็นปริมาณของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์ ซึ่งมีความสัมพันธ์
โดยตรงกับปริมาตรของเม็ดเลือดแดง
ค่ำที่ต่ำลงสัมพันธ์กับระดับฮีโมโกลบินและขนาดของเม็ดเลือดแดงที่ต่ำลงจึงมีสาเหตุเช่นเดียวกัน
ค่ำที่สูงขึ้นพบได้เมื่อปริมาตรของเม็ดเลือดแดง
ระดับฮีโมโกลบิน (hemoglobin) เป็นการตรวจความเข้มข้นของระดับฮีโมโกลบินใน
เลือด เนื่องจากสารฮีโมโกลินอยู่ในเม็ดเลือดแดง
ค่า %HCT มักจะมีค่าเป็นสามเท่าของความเข้มข้นของฮีโมโกลบิน
ฮีโมโกลบินหรือเฮโมโกลบิน คือส่วนหนึ่งของระบบไหลเวียนโลหิตึ่งเป็นโปรตีนสำคัญจะอยู่ในเม็ดเลือดแดง
หน่วยเป็น กรัมเปอร์เดซิลิตร
ฮีมาโทคริต (Hematocrit,Ht หรือ HCT)คือเปอร์เซนต์ของเม็ดเลือดแดง
ค่ำ %HCT มักจะมีค่าเป็นสามเท่าของความ
เข้มข้นของฮีโมโกลบิน
หน่วยเป็น % หรือvolume%
การตรวจเกี่ยวกับอิเลคโตรไลท์
เพื่อตรวจหาระดับเกลือแร่(อิเลคโตรไลท์)ในร่างกายโดยการตรวจค่าอิเล็กโทรไต์ ( Electrolyte )เพื่อจะทราบว่า สารละลายสื่อนำไฟฟ้า
เพื่อหาความผิดปกติที่เกิดจากการควบคุมระดับเกลือแร่
พื่อหาความผิดปกติของอวัยวะ
Sodium (Na)
Potassium(K)
Cholride(Cl)
Calcium(Ca)
Phosphorus(P)
Magnesium(Mg)
ภาวะโซเดียมต่ำ HypoSodium Na+
การได้รับน้ำมากเกินไป
การสูญเสียน้ำออกจาก
ร่างกายน้อยกว่าปกติ
งดน้ำงดอาหาร(NPO)
การสูญเสียจากการระบบขับปัสสาวะ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้
สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การตรวจเกี่ยวกับการทำงานของไต
Blood Urea
Nitrogen(BUN)
Creatinine(Cr)
BUN / Creatinine Ratio
Estimated glomerular filtrationrate : eGFR
Creatinine clearance