Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การวิเคราะห์การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ -…
บทที่ 4 การวิเคราะห์การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
เพื่อตรวจสุขภาพโดยทั่วไปหาโรคเรื้อรังเกี่ยวกับเลือดชนิดใด หรืออวัยวะใด
เพื่อตรวจวินิจฉัยว่ามีแนวโน้มเป็นโรคโลหิตจาง(Anemia) และเฝ้าตรวจและติดตาม ผลการรักษา
เพื่อตรวจวิเคราะห์ในการวินิจฉัยและการรักษา เช่น การได้รับยาเคมีบาบัด
เพื่อตรวจบ่งชี้สภาวะการอักเสบใดๆท่ัวทั้งร่างกาย
หน้าที่ของเลือด
1.ระบบการขนส่งออกซิเจนอาหารภูมิต้านทนโปรตีน
ระบบป้องกันตัวเองการทําลายของเสีย
ระบบป้องกันด้วยระบบภูมิคุ้มกัน
ควบคุมความสมดุลของร่างกายโดยการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด CBC
การตรวจนับจํานวนเม็ดเลือดขาว
(White Blood Cell Count, WBC)
การแยกชนิดเม็ดเลือดขาว
(Differential White Blood Cell Count)
การนับจํานวนเกร็ดเลือด
(Platelet count)
การนับจํานวนเม็ดเลือดแดง
(Red Blood Cell Count,RBC)
ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงอัดแน่น
(Hematocrit, Hct)
ปริมาณฮีโมโกลบิน
(Hemoglobin,Hb)
ชนิดของเม็ดเลือดขาว
Neutrophils (นิวโตรฟิลส์)
Eosinophils (อีโอซิโนฟิลส์)
Basophils (เบโซฟิลส์)
Monocytes (โมโนไซต์)
Lymphocytes (ลิมโฟไซต์)
ค่าของ WBC
ปกติ
ค่า WBC = 5,000 - 11,000 cells/cu.mm. (5 - 11 x109/L)
ผิดปกติ(ภาวะวิกฤติ)
ค่า WBC = น้อยกว่า 2,500 หรือมากกว่า 30,000 cells/cu.mm. (น้อยกว่า 25 หรือมากกว่า 30 x109/L)
ค่า WBC ที่ต่ำกว่าปกติ
ร่างกายกำลังติดเชื้อจากจุลชีพก่อโรคร้ายแรงบางชนิด เช่น เชื้อไวรัส
ร่างกายอาจกำลังมีสภาวะภูมิต้านทานโรคที่กำลังตกต่ำ จึงไม่ควรนิ่งนอนใจ
ไขกระดูกอาจมีปัญหา หรือมีโรคสำคัญบางอย่าง
อาจเกิดจากการใช้ยาหรือได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดที่ให้ผลข้างเคียงต่อการทำลายเม็ดเลือดขาว
ร่างกายขาดสารอาหารบางอย่าง เช่น วิตามินบี 12, กรดโฟลิค หรือธาตุเหล็ก
อาจเกิดจากม้ามทำงานมากเกินไป (Hypersplenism) โดยดักตับเก็บเม็ดเลือดขาวไว้มากผิดปกติจากกระแสเลือด
ค่า WBC ที่สูงกว่าปกติ
ร่างกายอาจกำลังเกิดการอักเสบจากการบาดเจ็บหรือเกิดจากการถูกจุลชีพก่อโรคโจมตี
ร่างกายอาจกำลังได้รับเชื้อโรคสำคัญหรือเกิดโรคจากจุลชีพก่อโรคที่หลุดเข้าสู่ร่างกาย จึงกระตุ้นให้ร่างกายต้องเร่งผลิตสร้างเม็ดเลือดขาวขึ้นมาต่อสู้
อาจเกิดโรคสร้างเม็ดเลือดขาวมากผิดปกติจากไขกระดูก (Myeloproliferative disorders)
อาจเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
อาจกำลังเกิดโรคมะเร็งที่อวัยวะใดอวัยวะหนึ่งซึ่งยังแอบแฝงซ่อนเร้นอยู่จนยากจะตรวจพบได้ในขณะนั้น
(จำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวที่สูงขึ้นผิดปกติโดยไม่มีอาการของโรคอื่น อาจนับเป็นสัญญาณบ่งชี้ของโรคมะเร็ง)
อาจกำลังเกิดความระคายเคือง เช่น จากความเครียด
หรือริดสีดวงทวาร ซึ่งผลต่อฮอร์โมนที่มีอิทธิพลในการสร้างเม็ดเลือด
อาจเกิดจากสภาวะการขาดน้ำ
ต่อมไทรอยด์อาจทำงานมากเกินไป
อาจเกิดจากการกินยากลุ่มสเตียรอยด์มานานเกินไป
เซลล์เม็ดเลือดแดง Red Blood Cell ( RBC )
เกิดจากไขกระดูกมีอายุประมาณ 120 วัน
ค่าปกติ
ชาย = 4.2 – 5.4 106/ µL
หญิง = 3.6 – 5.0 106/ µL
เด็ก = 4.6 – 4.8 106/ µL
ต่ำกว่าปกติ
เกิดภาวะของโรคโลหิตจาง
อาจมีอาการเสียเลือดทั้งที่เห็นด้วยตา
และไม่อาจสังเกตเห็น เช่น ตกเลือดในลำไส้
เกิดสภาวะของโรคไตวายเรื้อรัง
อาจเกิดโรคที่ไขกระดูก
ค่าสูงกว่าปกติ
อาจอยู่ในที่ที่มีออกซิเจนบางกว่าปกติ เช่น ท้องถิ่นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล
เกิดภาวะของโรคเม็ดเลือดแดงคับคั่ง
อาจมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
อาจเกิดโรคมะเร็งที่เนื้อเซลล์ของไต
ร่างกายอยู่ในภาวะความเครียดเป็นเวลานาน
อาจเกิดโรคธาลัสซีเมียหรือโรคโลหิตจาง
ร่างกายอาจขาดน้ำ
ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)
หน้าที่
ลำเลียงออกซิเจนจากปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ค่าปกติ
เด็กแรกเกิด มีค่าฮีโมโกลบิน 14-24 กรัมต่อเดซิลิตร
ทารก มีค่าฮีโมโกลบิน 9.5-13 กรัมต่อเดซิลิตร
ผู้ชาย มีค่าฮีโมโกลบิน 13.8-17.2 กรัมต่อเดซิลิตร
ผู้หญิง มีค่าฮีโมโกลบิน 12.1-15.1 กรัมต่อเดซิลิตร
ฮีมาโทคริต ( Hematocrit, Ht หรือ HCT )
ค่าปกติ
ผู้ชาย 42%–52% or 0.42–0.52
ผู้หญิง 36%–48% or 0.36–0.48
เด็ก 29%–59% or 0.29–0.59
ทารก 44%–64% or 0.44–0.64
Electrolyte
ประกอบด้วย
Potassium (K)
ค่าปกติ ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ K : 3.5 – 5.0 mEq/L
ค่าวิกฤติ K : < 2.5 หรือ > 5.0 mEq/L
Chloride (Cl)
ค่าปกติ ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ CI : 90 – 106 mEq / L
ค่าวิกฤติ CI : < 80 หรือ > 115 mEq / L
Carbon dioxide (C02)
ค่าปกติ ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ CO2 : 23 – 30 mEq/L
ค่าวิกฤติ CO2 : < 6 mEq/L
Sodium (Na)
ค่าปกติ ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ Na 136 – 145 mEq/L
ค่าวิกฤติ Na <120 หรือ > 160 mEq/L