Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 บทบาทของพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีบาดแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6 บทบาทของพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีบาดแผล
การดูแลบาดแผล บาดแผล หมายถึง เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับบาดเจ็บ อาจมีสาเหตุจากถูกของมีคม ถูกกระแทกถูกความร้อนจัดหรือเย็นจัด ถูกสารเคมี รังสี ซึ่งอาจเกิดจากอุบัติเหตุ
แบ่งตามความสะอาดของแผล
แผลสะอาด (clean wound) แผลที่ไม่มีการติดเชื้อหรือเป็นแผลที่เคยปนเปื้อนเชื้อแต่ได้รับการดูแลจนแผลสะอาดไม่มีการติดเชื้อ
แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเปื้อน (clean-contaminated wound) ลักษณะของแผล คล้ายแผลสะอาดแต่มักเป็นแผลผ่าตัดในระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ระบบทางเดินปัสสาวะ และยังไม่เกิดการติดเชื้อ
แผลปนเปื้อน (contaminated wound) เป็นแผลที่ไม่สะอาด ได้แก่ แผลที่เกิด จากอุบัติเหตุ
แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (infected wound/ dirty wound) เป็นแผลที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
จนเกิดการติดเชื้อ เกิดการอักเสบ มีหนอง ส่วนใหญ่เป็นแผลที่เกิดจากอุบัติเหตุ
แบ่งตามลักษณะการท าลายของผิวหนัง
แผลปิด (closed wound)
แผลเปิด (opened wound)
แบ่งตามสาเหตุของการเกิดบาดแผล
แผลเกิดโดยเจตนา (intention wound) เป็นแผลที่กระท าขึ้นเพื่อการรักษา
แผลเกิดโดยไม่เจตนา (unintentional wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ
ตามระยะเวลาที่เกิดแผล
แผลสด หมายถึง แผลที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ
แผลเก่า หมายถึง แผลที่อยู่ในระยะการหายของแผล
แผลเรื้อรัง หมายถึง แผลที่มีการติดเชื้อ มีการท้าลายเนื้อเยื่อ
แผลประเภทอื่นๆ
การแบ่งชนิดของบาดแผลประเภทอื่น ๆ ได้แก่ แผลที่มีรูทะลุ (fistula) เป็นแผลที่มีช่องทางเปิดผิดปกติอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการเจาะให้เกิดรูและแผลไหม้พอง (burn) เกิดจากความร้อน ได้แก่ ไฟไหม้ น้ าร้อนลวก สารเคมี และไฟฟ้าช็อต
การอักเสบ (Inflammation) เป็นปฏิกิริยาการตอบสนองที่ซับซ้อนของเซลล์หรือเนื้อเยื่อต่อสิ่งที่ก่อให้เกิด
ภยันตรายและต่อเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่เสียหายหรือตายลงทันที
การหายของแผล มี 3 ลักษณะ คือ
การหายแบบปฐมภูมิ (primary intention/ first intention healing)
การหายแบบทุติยภูมิ (secondary intention/ secondary intention healing)
การหายแบบตติยภูมิ (third intention / third intention healing)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
อายุ วัยสูงอายุจะมีการซ่อมแซมแผลได้ช้ากว่าวัยอื่น ๆ
ภาวะโภชนาการ
สภาวะของโรค
ยา ยาบางชนิดท าให้แผลหายช้า
บุหรี่
ความเครียด
ความอ้วน
ระบบการไหลเวียนเลือด
การติดเชื้อ
10.ลักษณะของแผล
11.การเคลื่อนไหว
12.สิ่งแปลกปลอมภายในแผล
13.การผ่าตัด
เทคนิคการเย็บแผลและเทคนิคการท าแผล
15.อุณหภูมิของแผล
16.สารที่ใส่แผล
17.การได้รับรังสีรักษา รังสีรักษา (radiotherapy)
การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพักผ่อนร่างกายและอวัยวะที่มีบาดแผลให้มากที่สุด
การท าความสะอาดบาดแผล
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตมายังบาดแผล
การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
การลดความเจ็บปวดจากแผล
การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลและดูแลให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
การทำแผล
การท าแผลเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งเสริมการหายของแผล เป็นการป้องกันแผลจากสิ่งที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง และสิ่งที่ขัดขวางการหายของแผล
ชนิดของการทำแผล
การท าแผลชนิดแห้ง (Dry dressing)
การท าแผลชนิดเปียก (Wet dressing)
การท าแผลที่มีท่อระบาย ท่อระบาย (Drain)
การท าแผลที่ต้องใช้แรงกด (Pressure dressing)
การชะล้างแผล (Wound irrigation)
การตัดไหม การตัดไหม (Stitch off)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
วัสดุสำหรับปิดแผล
พลาสเตอร์
อุปกรณ์อื่น