Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ - Coggle Diagram
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อข้อ
ระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ จะทําหน้าที่เป็นโครงสร้างและช่วยในการเคลื่อนไหวของร่างกายและยังป้องกันอวัยวะภายในที่อ่อนนุ่มด้วย
กระดูก (Skeleton)
กระดูกร่างกายของมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น หน้าที่จะเป็นตัวกําหนดรูปร่างและผิวหน้าของกระดูก เช่น กระดูกยาว
กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscles)
กล้ามเนื้อลายประกอบด้วย เส้นใยกล้ามเนื้อซึ่งยึดจับกับกระดูกเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อส่วนใหญ่เคลื่อนไหวตามที่สมองสั่ง
ข้อ (Joints)
ข้อ คือเนื้อเยื่อส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกตั้งแต่2 ชิ้น ขึ้นไป ช่วยให้มีความมั่นคงของข้อขณะที่มีการเคลื่อนไหว
เอ็น (Ligaments or tendons)
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เชื่อมระหว่างกระดูกและกระดูก หรือ ระหว่าง
กล้ามเนื้อและกระดูก
การตรวจพิเศษ
การตรวจพิเศษในทางมีจุดประสงค์เพื่อหาพยาธิสภาพของโครงสร้างกระดูกและข้อที่อวัยวะอื่นคลุมอยู่
The Yergason test เป็นการตรวจว่ามีTendonitis หรือไม่
Drop Arm Test เป็นการตรวจตามว่นการขาดของเอ็นทพาดผื่นทั้งกระดูก Humerus (Rotator cuff) หรือไม
Tennis Elbow Test เป็นการตรวจเพื่อหาว่ามการอักเสบของCommon extensor epicondylitis (Tennis elbow) หรือไม่
True for Leg Length Discrepancy เป็นการวัดหาความยาวของขาทั้งสองข้างเพื่อหาต้นเหตุของการเดินกะเผลกจากขายาวไม่เท่ากัน
Apparent leg Length Discrepancy ให้นอนหงายแล้ววัดความ
ยาวจากสะดือลงมายัง Medial malleolus ที่ข้อเท้าทั้ง2 ข้าง
Straight leg raising test เป็นการตรวจว่ามีการตึงของ Spinal cord, Cauda equina หรือ Sciatic nerve หรือไม่ มี 2 วิธ
Hoover Test เป็นการตรวจวินิจฉัยอาการปวดขาเกิดจากการแกล้งทำ(Malingering) หรือไม่
Magnetic resonance imaging(MRI) คือการตรวจโดยใช้เครื่องมือทีใช้สําหรับสร้างภาพอวัยวะภายในร่างกาย
การตรวจนิ้วมือและข้อนิ้ว(Wrist Joints and d Joints)
การดูและการคลําดูลักษณะการบวมแดง ตลอดจนการผิดรูปของข้อที่มีการเบี่ยงเบน
การตรวจขอตะโพก (Hip joint)
ให้ดูการเดินและการยนของผู้รับบริการว่า ลักษณะการเดินมีการเคลื่อนไหวมากน้อยเพียงใด ให้เปรียบเทียบกับด้านตรงข้าม
ให้คลําบริเวณรอบ ๆ ข้อตะโพกและรอบ ๆ ทั้ง 2 ข้าง
การตรวจการเคลื่อนไหวของข้อตะโพกห้ามทําในผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนข้อตะโพก (Hip replacement)
การตรวจความเคลื่อนไหวของตะโพก
การตรวจข้อตะโพกเสี่ยงตามการอักเสบ
การตรวจในรายที่สงสัยว่ามีการอักเสบของข้อตะโพก โดยวิธี Fabere test
การตรวจข้อเข่า (Knee joints)
การด ู ดูผิวหนังตามกล้ามเนื้อลีบหรือไม่สีผิวอาการบวม