Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนโลหิต
อวัยวะต่างๆจะได้รับเลือดไปเลี้ยงเพิ่มมากขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ มดลูกมีเลือดไปเลี้ยงเพิ่ม 20-40เท่าก่อนการตั้งครรภ์ บริเวณไตมีเลือดไปลี้ยงเพิ่มขึ้น50%ในไตรมาสที่1และ2และจะลดลงในไตรมาสที่3
ปริมาณเลือด เพิ่มขึ้น 30-40% จำนวนเม็ดเลือดแดงจะเพิ่มขึ้นช้าๆและเพิ่มด้วยอัตราคงที่ประมาณ33%
เม็ดเลือดแดง ค่าHbและHCTลดลง อาจทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง
เม็ดเลือดขาว มีการผลิตเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นจาก 5000ถึง 12000cell/ml
ปัจจัยการแข้งตัวของเลือด เอสโตเจน โปรเจสเตอโรนจะทำให้ความเข้มข้นของไฟบริโนเจนเพิ่มขึ้น 50%
ภาวะโลหิตจาง
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ขณะตั้งครรภ์ร่างกายต้องการธาตุเหล็กประมาณ 1,000มล. โดยร้อยละ25-30 ถูกนำมาใช้ในการสร้างเม็ดเลือดแดงของมารดาและเก็บสะสมไว้ที่ทารกเมื่ออายุครรภ์ 4-6เดือน จะทำธาตุเหล็กที่สะสมไว้มาใช้ โดยธาตุเหล็กสามารถพบได้ในอาหารหลายชนิดเช่น เนื้อสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว ส่วนใหญ่จะรับประทานธาตุเหล็กต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เมื่อตั้งตั้งจึงพบภาวะโลหิตจาง ธาตุเหล็กที่สะสมอยู่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
อาการและอาการแสดง
ซีด
ใจสั่น หายใจไม่สะดวก
เหนื่อยง่าย
แสบลิ้น ลิ้นเลี้ยน
ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
การป้องกันและการรักษา
รับประทานธาตุเหล็กเสริมวันละ 30 มล.ในครรภ์ปกติ 60-100มล.ในครรภ์แฝด
Ferrus Sulfate เหล็กในยา 1เม็ด 300mg เหล็กที่ได้รับ 60 mg
Ferrus gluconate เหล็กในยา 1เม็ด 320mg เหล็กที่ได้รับ 36 mg
Ferrus fumurateเหล็กในยา 1เม็ด 200mg เหล็กที่ได้รับ 67 mg
ภาวะโลหิตจางการการขาดโฟเลต
เมื่อเริ่มขาดโฟเลตจะมี hypersegmentation ของ neutrophils ในไขกระดูกเป็นอาการแสดงแรกสุด คือพบได้เมื่อสัปดาห์ที่ 5 ของการขาด ปริมาณของโฟเลตในเม็ดเลือดแดงจะลดลงเมื่อสัปดาห์ที่ 17 สัปดาห์ที่ 18 ไขกระดูกจะมีลักษณะเป็น megaloblastic และเกิดภาวะโลหิตจางขึ้น
การป้องกันและการรักษา
รับประทานหรือฉีดโฟเลตประมาณ 1 มก.ต่อวัน ซึ่งจะตอบสนองต่อการรักษาได้อย่างดี ประมาณวันที่ 4-7 หลังรักษา
ภาวะโลหิตจางจากโรคลัสซีเมีย
เป็นโรคทางพันธุกรรมที่ลดการสร้างโพลีเป็ปไทด์ในอีโมโกบินทำให้ฮีโมโกบิลผิดปกติเกิดแทน สามารถถ่ายทอดความผิดปกติไปได้แบบ autosomal recessive gene ผู้ที่มียีนส์ผิดปกติยีนเดียวจะเป็นพาหะหรือไม่เป็นโรค ผู้ที่เป็นโรคจะต้องได้รับยีนส์ผิดปกติอย่างน้อย2ยีน
อาการและอาการแสดง
1.ระดับรุนแรงมาก ฮีโมโกลบินต่ำกว่า 5 กรัมเปอร์เซ็นต์ ซีด ตัวเหลือง ตับและม้ามโตการเจริญเติบดตช้า
2.ระดับกลาง มีความรุนแรงปานกลาง มีอาการซีด ฮีโมโกลบิน6-8กรัมเปอร์เซ็นต์ ตับแลม้ามโต การเจริญเติบโตไม่เหมาะสมช่วงอายุ
3.ระดับเล็กน้อย ไม่มีอาการแสดงผิดปกติ ไม่ซีด ภาหะ
การคัดกรอง
OF / DCIP หาก Positiveให้พาสามีมาตรวจ