Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพการรู้สติ การรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว, 3404196404b104dfd8…
พยาธิสรีรภาพการรู้สติ การรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
สัญญาณเซลล์ประสาทและการส่งประสาท
ประกอบด้วย ส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เรียกว่า เดนไดรต์(Dendrites) และส่วนที่ทำหน้าที่นำสัญญาณประสาทออกจากเซลล์
เนื้อเยื่อประสาท
เซลล์ประสาท
เซลล์พี่เลี้ยงหรือเซลล์ค้ำจุน
การส่งสัญญาณประสาท
เซลล์ก็จะเปิดช่องแคลเซียมที่เปิดปิดโดยศักย์ไฟฟ้า
ไอออนแคลเซียมไหลเข้ามาในปลายแอกซอน
แคลเซียมจะทำให้ถุงไซแนปส์ (synaptic vesicle) จำนวนหนึ่งที่เต็มไปด้วยโมเลกุลสารสื่อประสาท เชื่อมเข้ากับเยื่อหุ้มเซลล์
ปล่อยสารเขาไปในร่องไซแนปส์ (synaptic cleft)
สารก็จะแพร่ข้ามร่องไซแนปส์และออกฤทธิ์กับตัวรับของนิวรอนหลังไซแนปส์
ระดับแคลเซียมที่สูงขึ้นในไซโทพลาซึมที่ปลายแอกซอน (axon terminal) ยังจุดชนวนให้ไมโทคอนเดรียดูดซึมแคลเซียม (mitochondrial calcium uptake) ซึ่งก็จะเริ่มกระบวนการเมแทบอลิซึมทางพลังงานของไมโทคอนเดรียเพื่อผลิดอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) เพื่อเป็นพลังงานดำรงการสื่อประสาท
บริเวณประสานประสาท ตัวรับและสารสื่อประสาท
ตัวรับ(Receptor)เป็นโปรตีนที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์หรือในไซโทพลาสซึมหรือนิวเคลียส
ที่จะเชื่อมต่อกับโมเลกุลเฉพาะซึ่งเรียกว่า ลิแกนด์ (ligand)
สารสื่อประสาท, ฮอร์โมน หรือสารประกอบอื่นๆ
ทำให้เกิดการเริ่มต้นตอบสนองของเซลล์ต่อลิแกนด์นั้นๆ
สารสื่อประสาท(Neurotransmitter)เป็นสารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในเซลล์ประสาทและเก็บไว้ในถุงหุ้ม(Neurotransmitter vesicle
อะเซทิลโคลีน (Acetylcholine; Ach)เป็นสารสื่อประสาทตัวแรกที่ถูกค้นพบใน CNS
โมโนเอมีนเป็นสารสื่อประสาท
ระบบประสาทส่วนกลาง
เป็นศูนย์กลางรับ ประมวลวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล จากนั้นนำคำสั่งมายังอวัยวะเป้าหมายซึ่งทำงานภายใต้อำนาจจิตใจ
ระบบประสาทส่วนปลาย
เป็นทางเชื่อมของสารสนเทศระหว่างสมองและหลายบริเวณ ส่วนใหญ่คือศีรษะและคอ ประสาทไขสันหลังลงไปถึงกระดูกสันหลังส่วนคอที่หนึ่ง และประสาทสมองบทบาทสัมพันธ์กันเหนือระดับนี้
เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve) 12 คู่ ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่สมองและนำคำสั่งการจากสมองส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) 31ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่ไขสันหลังและนำคำสั่งการ
จากไขสันหลังส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ เช่น กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
เซลล์ประสาท (Neuron) นอกระบบประสาทส่วนกลาง
ทำหน้าที่รับข้อมูลจากร่างกายและนำส่งไปยังสมองและไขสันหลัง
ระบบประสาทอัตโนมัติ
ไฮโปทาลามัสควบคุมการทำงานของANS และต่อมไร้ท่อ
เพื่อรักษาความคงสภาพของร่างกายไว้
ระบบรับความรู้สึก
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นร่างกายในรูปแบบต่างๆ ซึ่งจะมีผลให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม และมีชีวิตอยู่รอดได้
การรับความรู้สึกทั่วไป
และการรับความรู้สึกพิเศษ
การรับความรู้สึกทั่วไป(Somatic sensation)หมายถึง การรับความรู้สึกทั่วๆ
ไปของร่างกายทั้งภายใน และภายนอก
การมองเห็น
การได้รับกลิ่น
การได้รับรสชาติอาหาร
การได้ยินเสียง
และการรับรู้สมดุลของร่างกาย
การรับความรู้สึกจากการสัมผัส (touch)
การรับความรู้สึกเกี่ยวกับความเจ็บป่วย (pain)
การรับความรู้สึกเกี่ยวกับอุณหภูมิ (temperature
การรับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อและข้อต่อ (proprioception)
การรับความรู้สึกของอวัยวะภายใน
(visceral organ)
การรับ
ความรู้สึกพิเศษ
(Special Sensation)
การเคลื่อนไหว
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
การทำงานของกล้ามเนื้อ
(Muscle performance)
ความผิดปกติของประสาทสั่งการตัวล่าง
(Lower motor neuron)
การส่งผ่านประสาทสั่งการ(Transmission in motor System)
การมองเห็น
ความผิดปกติของการมองเห็น(Vision Dysfunction)
ภาวะสายตาผิดปกติ(Refractive error) ได้แก่
สายสั้น(Myopia;nearsightedness)
สายตายาว (Hypermetropia, farsightedness)
สายตาเอียง(Astigmatism)
ตาบอดสี(Color blindness)
ความเสื่อมของเยื่อบุตา ได้แก่ ต้อลม(Pinguecula) ต้อเนื้อ(Pterygium)
ความผิดปกติที่พบบ่อย ได้แก่ ต้อกระจก(Cataract), ต้อหิน(Glaucoma)
การได้ยินและการทรงตัว
การได้ยินดังกว่าปกติ(Hyperacusis) เมื่อมีความผิดปกติของCNVII ทำให้ stapedius muscle ในหูชั้นกลางซึ่งทำหน้าที่ปรับลดความรุนแรงของคลื่นเสียง เสียไห ทำให้ได้ยืนเสียงดังกว่าเดิม
สูญเสียการได้ยิน(Hearing loss)
Conductive hearing loss เกิดจากการขัดขวางการนำคลื่นเสียงผ่านช่องหูเยื่อแก้วหูและกระดูกทั้ง 3ชิ้นสมอง(ผิดปกติส่วนStimulation)
สาเหตุของการสูญเสียการทรงตัว
เกิดจากระบบการทรงตัวส่วนปลายหรือระบบประสาทควบคุมการทรงตัวในหูชั้นใน
ได้แก่ พยาธิสภาพในหู เช่น การอักเสบ
เกิดจากระบบประสาทส่วนกลาง
เช่น การขาดเลือดไปเลี้ยงสมองส่วนที่ควบคุมการทรงตัวหรือได้รับการกระทบกระเทือน
การรับรส
การดมกลิ่น
การรู้สติและความผิดปกติ
ภาวะชัก
ภาวะสมองเสื่อม
ภาวะหมดสติ
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
สาเหตุการนอนไม่หลับอาจเนื่องมาจาก ขาดการออกกำลังกาย นอนกลางวันมากเกินไป
มีความวิตกกังวลในเรื่องต่างๆสูงจนกระทั่งถึง
อารมณ์เศร้า
ระบบที่คอยควบคุมการนอนหลับ
ระบบการหลับ-ตื่น
ระบบนาฬิกาชีวภาพ (circadian)