Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัต…
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเกี่ยวกับเลือด ค่าวิกฤติ คือ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มีความแตกต่างจากช่วงค่าปกติมาก หรือผลการตรวจที่ผิดปกติ
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวัง
อาการ
ประเมินประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการติดเชื้อ อาจมี
ผลท าให้ RBC ลดลง
ประเมินเกี่ยวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
เซลล์เม็ดเลือดขาว
บทบาท มีหน้าที่ในการต่อสู้ทำลายจุลชีพก่อโรคโดยสรุป WBC คือ เซลล์ที่มีบทบาทหน้าที่ในการเสริมสร้างภูมิต้านทาน(Antibody) เพื่อปกป้องร่างกาย
ภาวะที่เกี่ยวข้อง
ค่าสูงกว่าปกติ: ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน(Acute infection) โรคเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือด(Circulatory disease) การตกเลือด( Hemorrhage)
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia)การได้รับยาบางชนิด การผ่าตัด
ค่าต่ำกว่าปกติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน(Acute leukemia) ,โรคเบาหวาน
(Diabetic),ไข้มาลาเรีย(Malaria),ผู้ที่ได้รับรังสีรักษา(Radiation) ติดเชื้อไวรัส (Viral infection)
การตรวจหาจำนวนของเม็ดเลือดขาว
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การออกก าลังกายที่หนักหน่วง มีภาวะเครียดอาจท าให้WBC เพิ่มขึ้นชั่วคราว
ยากลุ่ม Bone marrow depressant อาจลดจ านวน WBC ได้
การพยาบาล
คอยสังเกตและบันทึกอาการการติดเชื้อ
ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้เกิดเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ(Leukopenia) จากการติดเชื้อ จนกว่าร่างกายจะไม่มีปัญหาติดเชื้อ
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ทำให้เพิ่มหรือลดจำนวน WBC ได้
เม็ดเลือดแดง
บทบาท มีหน้าที่ในขนส่งออกซิเจนจากปอดด้วยวิธีการให้ออกซิเจนจับที่บริเวณผิวของเม็ดเลือดแดง ส่งให้ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย โดยจะมีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ภาวะที่เกี่ยวข้อง
ค่าสูงกว่าปกติ: แสดงถึงภาวะของโรคมะเร็งหรือโรคไต Renal cell carcinoma หรือโรคเลือด(Polycythemia vera) อาจเกิดจากภาวะขาดน้ำ(Dehydration)โดยมีผลทำให้จำนวนเม็ดเลือดแดงต่อน้ำเลือด 1 ลบ.มม. มีระดับl^’-7hozbfxd9b
ค่าต่ำกว่าปกติ : เกิดภาวะโลหิตจาง(Anemia), ตกเลือด(Bleeding), ภาวะไตวายเรื้อรัง
(Chronic Renal failure)
การตรวจหาจำนวนเม็ดเลือดแดง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ถ้าลดลงหมายถึงโลหิตจาง ควรประเมินอาการ ประวัติการับประทานอาหาร ตรวจร่างกายและอาการทางคลินิกของโลหิตจาง
ประเมินเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือติดเชื้อที่ท าให้ RBC ลดลง
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการเฉียบพลัน เพราะอาจท าให้ค่าลดลง
สอนและแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและผลกระทบของการเปลี่ยนจำนวนและขนาดของ RBC และความผิดปกติ
ภาวะโซเดียมต่ำ
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะโซเดียมต่ำ
การได้รับน้ำมากเกินไป
การสูญเสียน้ำออกจากร่างกายน้อยกว่าปกติ
สูญเสียหน้าที่ เช่น ไตวาย
กลุ่มอาการหลั่งฮอร์โมน ADH ไม่เหมาะสม
เบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
การสูญเสียจากการระบบขับปัสสาวะ
ค่าต่ำกว่าปกติ :น้อยกว่า 135 mEq/L
ภาวะโซเดียมสูง
ค่าสูงกว่าปกติ :สูงกว่า 145 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะโซเดียมสูง
การสูญเสียน้ำออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
การได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การได้รับโซเดียมเข้าสู่ร่างกายมากกว่าปกติ
ภาวะโพแทสเซียมสูง Hyperpotassium K+
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะโพแทสเซียมสูง
การได้รับสารที่มีโพแทสเซียมสูง(Increase in K+intake)
โรคไตวายเรื้อรัง(Renal failure)
การได้รับยาขับปัสสาวะกลุ่ม K+sparing diuretics
ค่าต่ำกว่าปกติ :มากกว่า 5.0mEq/L
ภาวะแมกนีเซียมสูง
ค่าต่ำกว่าปกติ : มากกว่า 2.1 mEq/L
ภาวะแมกนีเซียมต่ำ
ค่าต่ำกว่าปกติ :อยกว่า1.3 mEq/L
ภาวะฟอสฟอรัสสูง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะฟอสฟอรัสสูง
ตั้งครรภ์
ภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด
โรคไต
เบาหวานชนิดคีโตนคั่ง
ภาวะฟอสฟอรัสต่ำ
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะฟอสฟอรัสต่ำ
ภาวะขาดสารอาหาร
ระดับวิตามินดีต่ำ
โรคตับ
ระดับแคลเซียมสูง
ภาวะแคลเซียมสูง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะแคลเซียมสูง
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง
โรคไต
ภาวะขาดน้ า
ภาวะโพแทสเซียมต่ำ Hypopotassium K+
ค่าต่ำกว่าปกติ :น้อยกว่า3.5 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะโซเดียมต่ำ
การได้รับยาDiuretics, Digitalis,Corticosteroids
การเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ (Shift into cells)
ท้องเสีย (Diarrhea) อาเจียน(Vomiting)