Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีจริยศาสตร์, รายชื่อชมาชิก - Coggle Diagram
ทฤษฎีจริยศาสตร์
ทฤษฎีจริยศาสตร์ที่สำคัญ
จริยศาสตร์ของมิลล์
ธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์ไม่ได้มีสำนึกทางศิลธรรมมาตั้งแต่กำเนิด
ธรรมชาติของมนุษย์ก็คือการแสวงหาความสุข
ความสุขที่มนุษย์ควรแสวงหานั้น ไม่ใช่ความสุขส่วนตัว แต่หมายถึงความสุขเพื่อมวลชน
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมตามทัศนะของมิลล์
เน้นผลของการกระทำว่าเป็นเครื่องตัดสินในสถานการณ์ที่ขัดแย้ง
ข้อตัดสินที่ดีที่สุดคือ ข้อตัดสินที่ก่อให้เกิดความสุขมากที่สุดหรือความทุกข์น้อยที่สุด
การกระทำที่ถูกต้องก็เพราะการกระทำนั้นส่งเสริมให้เกิดความสุขมากที่สุดเพื่อจำนวนประชาชนมากที่สุด
จริยศาสตร์ของคานท์
ลัทธิของคานท์
ความจงใจหรือเจตนาที่เกิดก่อนการกระทำนั้นเป็นตัวตัดสินการกระทำ
ผลที่เกิดภายหลังการกระทำมิใช่ตัวตัดสินการกระทำว่าถูกหรือผิด
ชีวิตที่ดีคือชีวิตที่อยู่ภายใต้กฎศิลธรรม คนดีคือคนที่ทำหน้าที่โดยไม่คำนึงถึงผล
ค่าทางจริยธรรมจะต้องแน่นอนตายตัว
ธรรมชาติของมนุษย์ตามแนวคิดของคานท์
หลักการที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในแนวคิดของคานท์คือ ความคิดเรื่องเหตุผล
เกณฑ์ตัดสินจริยธรรมตามแนวคิดของคานท์
หลักการแห่งกฎสากล
กฎสากลของคานท์เป็นกฎสากลแห่งอิสรภาพ
หลักการแห่งมนุษย์ในฐานะที่เป็นเป้าหมายในตัวเอง
มนุษย์เท่านั้นที่มีความสามารถในการปฏิบัติโดยอาศัยแรงขับจากกฎศิลธรรม
จริยศาสตร์ของชาร์ท
ตามหลักการแห่งเสรีภาพของซาร์ท
เสรีถาพของซาร์ทต้องควบคู่กับความรับผิดชอบเสมอ
การใช้เสรีภาพอย่างมีความรับผิดชอบย่อมก่อให้เกิดการสร้างสรรค์มากกว่าทำลาย
การเลือกใช้เสรีภาพเลือกทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่ากับเป็นการเลือกเพื่อมวลมนุษย์ด้วย
คำพูดของซาร์ทที่ว่า "ในการเลือกของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเลือกมวลมนุษย์"
ความสัมพันธ์ของจริยศาสตร์กับจริยธรรม
จริยศาสตร์เพียงแต่เสนอเหตุผลว่า
อะไรดี อะไรชั่ว
เสนอในลักษณะที่เป็นความรู้เพื่อความรู้
อะไรไม่ควรประพฤติ อะไรควรประพฤติ
จริยธรรมจะเน้นไปทางศาสนา
สอนว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด
ต้องนำความรู้นั้นไปประพฤติปฏิบัติ
มิใช่เป็นเพียงเพื่อความรู้เท่านั้นแต่เป็นความรู้เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติ
ขอบเขตการศึกษาทางจริยศาสตร์
ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งมีค่าหรือสิ่งดีสำหรับมนุษย์
สิ่งมีค่าในตัวเอง
สิ่งที่เราแสวงหามันเพราะต้องการมันมิใช่แสวงหามันเพื่อที่จะให้ได้สิ่งอื่นต่อไป
เช่น
เงินทอง
ชื่อเสียงเกียรติยศ
สิ่งมีค่านอกตัว
สิ่งที่เราต้องการเพื่อที่จะใช้เป็นบันไดก้าวไปสู่สิ่งอื่น
เช่น
เราต้องการความรู้เพื่อที่จะก้าวไปสู่ความมีเงิน
ถ้าต้องการเงินเพื่อเงิน
สุขนิยม
สุขนิยมแบบอัตนิยม (Egoistic Hedonism)
ลัทธินี้เน้นความสุขของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ
เอพิคิวรุส (Epicurus,341.270 : B.C)
เป็นนักปรัชญาผู้ให้กำเนิดลัทธิเอพิคิวเรียน
คำสอนสำคัญของลัทธินี้ คือ จงกิน ดื่ม และหาความสำราญเสียเพราะพรุ่งนี้ "เราก็ตาย"
วิญญาณของมนุษย์มีลักษณะเป็นสสารจึงมีแตกมีดับเช่นเดียวกับสสาร
คำสอนของลัทธินี้เป็นมีลักษณะเป็นสสารนิยม
เชื่อว่าสสารเท่านั้นที่เป็นจริง
อาริสติปปุส (Ariotipous,435-365 B.C.)
เป็นนักปรัชญาสุขนิยมคนแรกในประวัติในปรัชญาและเป็นผู้ให้กำเนิดลัทธิไซเรเนอิค
อาริสติปปุสเน้นความสำคัญของความสุขปัจจุบันมากกว่าความสุขในอดีตหรือในอนาคต
เราพึงแสวงหาความสุขให้มากที่สุดในขณะนี้เท่าที่จะ
มีโอกาส เพราะวันพรุ่งนี้เราอาจไม่มีโอกาส
หาความสุขแล้วก็ได้
ควรแสวงหาความสุขให้กับตัวเองให้มากที่สุดโดยไม่ต้องคำนึงถึงผู้อื่น
มนุษย์ถูกสร้างมาโดยให้มีอวัยวะสำหรับรับรู้ เพื่อให้ชื่นชมกับสุนทรียภาพของโลก
การใช้ชีวิตต้องรู้จักการแยกแยะ
หากมนุษย์ที่สมบูรณ์ไม่ชื่นชมกับสุนทรียภาพของโลก เสมือนหนึ่งว่าทำตัวเป็นคนพิการ
สุขนิยมสากล (Universalistic Hedonism)
ลัทธินี้ได้เน้นความสุขของผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ แต่เน้นความสุขของทุกๆ คนในสังคม
เบ็นธัม (Jeremy Bantham,1278-1832)
ธรรมชาติได้จัดให้มนุษย์อยู่ภายใต้การบงการของนายที่มีอำนาจอยู่สองตน คือ ความเจ็บปวดและความสุขสบาย
เป็นผู้ให้กำเนิดลัทธิที่มีชื่อว่า ประโยชน์นิยม
ธัมมีทัศนะว่าการกระทำทุกอย่างของมนุษย์มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่ความสุขและหลีกเลี่ยงความทุกข์หรือความเจ็บปวด
มิลล์ (John Stuart Mil, 1806-1873)
เขาเป็นผู้วางรากฐานให้แก่ประโยชน์นิยมโดยทำให้ลัทธินี้ลัดกุมยิ่งขึ้น
มิลล์กล่าวว่า "ในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีอะไรเป็นสิ่งที่น่าปรารถนานอกจากความสุข"
เขาถือว่าความสุขเป็นสิ่งที่ดีและเป็นยอดปรารถนาของมนุษย์ทุกคน
อสุขนิยม
ลัทธิที่ถือความสุขมิใช่สิ่งที่ดีที่สุดของชีวิต
มีสิ่งอื่นมีค่ามากกว่าความสุข
เช่น
ความสุขของจิตใจ
ปัญญาความรู้
อสุขนิยมแบ่งออกเป็นลัทธิย่อยได้ 2 ลัทธิ
วิมุตินิยม
ลัทธินี้เชื่อว่าสิ่งที่มนุษย์แสวงหาคือความสงบของจิตที่ปราศจากทั้งความสุขและความทุกข์
ลัทธิไซนิกส์ (Cynicism)
ลัทธินี้เกิดจากความไม่พอใจต่อสภาพชีวิตของตัวเองของสังคมและโลกที่เขาอาศัยอยู่ เช่น ภัยพิบัติจากสงคราม
นักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้เสนอแนวทางในการดำเนินชีวิตด้วยการปลีกตนเองจากสภาพสังคมดังกล่าวไปดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ไม่แสวงหาอะไร
ลัทธิสโตอิก (Stoicism)
ชีวิตที่ดีคือชีวิตที่วางเฉยต่อความเป็นไปที่จะเกิดขึ้นในโลกหรือในชีวิต
ลัทธินี้เป็นระบบกว่าและมีจุดมุ่งหมายค่อนข้างแน่นอนกว่า
ขจัดความอยากและความหลงผิดเมื่อทำได้เช่นนี้ชีวิตก็จะไม่ทุกข์ต่อไป
ลัทธิสโตอิกเชื่อว่าโลก ธรรมชาติ และเอกภพดำรงอยู่และดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่ตายตัว
ปัญญานิยม
ลัทธิที่ถือว่าปัญญาหรือความรู้เป็นสิ่งที่ดีที่สุดและมีค่าในตัวเอง
โสคราตีส (Socrates,463-399 : B.C.)
"ไม่มีผู้ใดทำผิดโดยสมัครใจ"
คนทุกคนต้องการทำความดี แต่เหตุผลที่ทำให้เขาทำความชั่วเพราะเขาไม่รู้
เขาเชื่อว่าทุกคนมีแนวโน้มที่จะกระทำความดีแต่เขาขาดความรู้ คือไม่รู้อะไรดี อะไรชั่ว
เพลโต (Plato,427-347 : B.C.)
คุณธรรมจะต้องมีความรู้เป็นพื้นฐาน
สิ่งที่อยู่ในโลกแห่งมโนคติเท่านั้นเป็นวัตถุของความรู้ เช่น ต้นแบบของความกล้าหาญ ความยุติธรรม เป็นต้น
อริสโตเตล (Aristotle,384-322 B.C.)
เหตุผลของเพลโต คือ เป็นไปได้ที่แบบแห่งความ"ดี"ได้ทั้งหมดสิ่งต่างๆที่คนว่ามันดีเพราะเขามีจุดหมายอยู่ที่มัน
คนเราต้องการสิ่งหนึ่งเพื่อสิ่งหนึ่งและเพื่อสิ่งอื่นๆอีกเรื่อยๆไปในที่สุดจะไปหยุดที่ความสุข
มนุษย์นิยม
เป็นลัทธิที่แย้งสุขนิยมและขณะเดียวกันก็แย้งอสุขนิยมด้วย
ร่างกายและวิญญาณซึ่งมีความสำคัญเท่าๆกัน
เป้าหมายสูงสุดของชีวิตในทัศนะของกลุ่มนี้คือความเป็นมนุษย์และการรู้จักตัวเอง
ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไปมนุษย์ไม่อาจมีชีวิตอยู่ได้
ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินจริยธรรม
สัมพัทธนิยม (Relativism)
สัมพัทธนิยมส่วนบุคคล
ความจริงที่แน่นอนตายตัวไม่มีในโลกนี้ ความจริงเป็นเรื่องของบุคคลแต่ละบุคคล ใครเห็นอย่างไรรู้สึกอย่างไร สิ่งนั้นก็เป็นสำหรับเขาในเวลานั้น
สัมพัทธนิยมกลุ่มนี้มีทัศนะว่าดีชั่ว ถูกผิด เป็นเรื่องของมนุษย์เป็นผู้ตัดสิน
สัมพัทธนิยมทางสังคม
สัมพัทธนิยมกลุ่มนี้มีทัศนะว่ามาตราการที่ใช้ตัดสินการกระทำนั้นควรใช้สังคมเป็นเกณฑ์
ใช้จารีตประเพณีและขนบธรรมเนียมรวมทั้งค่านิยมของสังคมนั้นๆเป็นเกณฑ์ตัดสินการกระทำ
ลัทธินิยมคือลัทธิที่ถือว่ากระทำไม่ได้ดีหรือชั่ว การกระทำนั้นขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่กระทำ
ค่าทางจริยธรรมและเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมมิได้มีอยู่อย่างแน่นอนตายตัว แต่ขึ้นอยู่กับบุคคลหรือสังคม
สัมบูรณนิยม (Absolutism)
กรรมนิยม
มโนธรรมนิยม
ลัทธินี้ถือว่ามโนธรรมเป็นเกณฑ์ตายตัวเพียงเกณฑ์เดียว
คำว่า "กรรม" ในที่นี้หมายถึง การกระทำ
เจตจำนงนิยม
ลัทธิที่ถือเอาเจตนาหรือแรงจูงใจที่ก่อให้เกิดการกระทำเป็นมาตราการในการตัดสินการกระทำ
ลัทธิที่ถือว่าค่าทางจริยธรรมเป็นสิ่งที่แน่นอนตายตัวและมีอยู่เป็นอิสระจากความคิด
หลักหรือมาตรการที่ใช้ตัดสินพฤติกรรมหรือการกระทำอย่างหนึ่งว่า ดีหรือชั่ว ผิดหรือถูก
ปัญหาเกี่ยวกับค่าทางจริยธรรม
ลักษณะของค่าทางจริยธรรม มีคำตอบอยู่ 3 ลัทธิ
ธรรมชาตินิยม
เป็นสิ่งที่อยู่ในโลกธรรมชาติ
อารมณ์นิยม
ค่าทางจริยธรรมมิได้มีอยู่จริง ศัพท์ทางจริยะเช่น "ดี" "ชั่ว" มิได้มีความหมายใดๆ เป็นเพียงการแสดงความรู้สึกหรืออารมณ์ของผู้พูดเท่านั้น
อธรรมชาตินิยม
การวิบัติทางธรรมชาตินิยม
ความมีอยู่ของค่าทางจริยศาสตร์ความมีอยู่ของค่าทางจริยธรรม มีคำตอบอยู่ 2 ลัทธิ
ลัทธิอัตวิสัย (Subjectivism)
การที่คนสองคนโต้แย้งกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ความรู้สึกของแต่ละคนซึ่งอาจจะมีรสนิยมที่แตกต่างกันไม่จำเป็นต้องชอบอะไรที่เหมือนกัน
ลัทธิวัตถุนิยม (Objectivism)
การที่สองคนโต้แย้งกันเกี่ยวกับความดี ความชั่วจะต้องมีคนหนึ่งถูก คนหนึ่งผิดจะถูกทั้งสองคนไม่ได้
ความหมายของจริยศาสตร์
จริยศาสตร์ (ethics)
การตัดสินทางศิลธรรม
การศึกษามาตรการความประพฤติ
รากศัพท์
ศาสตร์ แปลว่า ระบบวิชาความรู้
ระบบวิชาความรู้ที่ว่าด้วยกริยาที่ควรประพฤติ
จริย แปลว่า กริยาที่ควรประพฤติ
พจนานุกรม
การแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์
แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ สิ่งไหนถูกไม่ถูก ควรไม่ควร
พิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของคุณค่าทางศิลธรรม
การกระทำในลักษณะใดที่ควรแก่การยกย่งสรรเสริญ
ความประพฤติในลักษณะใดที่ถือว่ามีค่าทางศิลธรรม
รายชื่อชมาชิก
นางสาวฐิติมา คะตะวงษ์ 61122490126
นางสาวจันทร์จิรา ศรีบุญ 61122490122
นางสาวนฤมล ขจัดมลทิน 61122490129
นางสาวนิชญา อัปกาญจน์ 61125020216
นางสาวพรชิตา เขียวขัน 61124440137
นางสาวกุณฑิกา นนทา 61124440124