Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 Part 1 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ - Coggle Diagram
บทที่ 3 Part 1
การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
เทคนิคการตรวจร่างกาย
การดู (Inspection)
ดูให้ทั่ว และดูให้เป็นระบบจากด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลังโดยดูเปรียบเทียบกันทั้งสองข้าง
ผู้ตรวจต้องทราบด้วยว่าอวัยวะที่ดีปกติเป็นอย่างไร จึงจะสามารถแยกสิ่งที่ผิดปกติออกจากสิ่งที่ปกติได้โดยการเปรียบเทียบ
ดูลักษณะที่สัมพันธ์กับโรค
การคลำ (Palpation)
คลำบนร่างกายของผู้ป่วยที่ปราศจากเสื้อผ้า
ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนในท่าที่สะดวกต่อการคลำ
ผู้ตรวจจะใช้ฝ่ามือหรือนิ้วมือข้างที่ถนัดคลำโดยไม่ใช้ปลายนิ้ว เล็บผู้ตรวจจะต้องสั้น มือต้องอุ่นขณะตรวจผู้ป่วย
ขณะคลำให้ผู้ตรวจสังเกตสีหน้าท่าทางผู้ป่วยตลอดเวลาด้วย
การคลำลึกๆเป็นการคลำสองมือ เพื่อแยกอวัยวะต่างๆในช่องท้อง
คลำบริเวณเจ็บหลังสุด เพื่อตรวจขอบเขตที่แท้จริงของบริเวณนั้น
วิธีการคลำ
1) การคลำมือเดียว (UNIMANUAL PALPATION)
2) การคลำสองมือ (BIMANUAL PALPATION)
การเคาะ (Percussion)
หลักการเคาะ
การเคาะ ควรใช้การเคลื่อนที่ของข้อมือข้างที่ถนัด ไม่ใช้นิ้วมือหรือข้อศอก และควรตัดเล็บให้สั้น
การเคาะเพื่อฟังเสียงทึบ ต้องเคาะแรง เรียก Sonorous Percussion แต่ถ้าเคาะหาขอบเขตของอวัยวะ ควรค่อยๆเคาะลงแล้วเคาะไล่ไปตามบริเวณต่างๆ เรียก Definitive Percussion
การเคาะอวัยวะที่มี 2 ด้าน ให้เคาะตำแหน่งเดียวกันสลับซ้ายขวา
การเคาะ ขณะทำการเคาะควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเสียง
การฟัง (Auscultation)
วิธีการฟัง
1) การฟังโดยตรง (Direct Auscultation)
2) การฟังโดยใช้เครื่องมือ (Indirect Auscultation)
เครื่องมือในการตรวจร่างกาย
เครื่องชั่งน้ำหนัก
ที่วัดส่วนสูง
ปรอทวัดอุณหภูมิร่างกาย (Thermometer)
เครื่องวัดความดันโลหิต
หูฟัง (Stethoscope)
ไฟฉาย
ไม้กดลิ้น
เข็มปลายทู่หรือปลายแหลม
แผ่นทดสอบสายตา (Snellen’s Chard)
ผ้าคลุมตัวผู้ป่วย
เครื่องส่องดูลูกตา (Ophthalmoscope)
ส้อมเสียง
เครื่องส่องดูภายในรูหู (Otoscope)
ไม้เคาะเข่า
การตรวจผิวหนัง
สีผิว (skin color)
ผิวสีซีด (pallor)
ผิวเหลือง (jaundice)
ผิวสีเขียวคล้ำ (cyanosis)
ผิวสีแดง (erythema)
ลักษณะผิว, ความตึงตัว (skin turgor), อุณหภูมิของ ผิวหนัง(temperature), ความชุ่มชื่น (moisture),เม็ดผื่นหรือตุ่ม (skin lesion),จุดเลือดออก,การบวม (edema)
การตรวจผมและขน
ภาวะผิดปกติ
ผมเปลี่ยนสีไป (โดยไม่ย้อมผมร่วงมาก ผมหยาบเปราะ แตกง่าย)
ภาวะปกติ
สีผมจะเป็นธรรมชาติของเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ปริมาณผมและขนมีการกระจายตัวดีหนานุ่มตามวัย
การตรวจเล็บ
ภาวะปกติ
โคนเล็บจะนุ่มหยุ่นเล็กน้อยมุมระหว่างฐานเล็บ (nail base)เล็บเป็นสีชมพู ผิวเล็บเรียบ
ภาวะผิดปกติ
เล็บรูปช้อน (spooning finger)นิ้วปุ้ม (clubbing finger)
ศีรษะ
การตรวจศีรษะ
การดู
การคลำ
เทคนิค
การตรวจศีรษะใช้เทคนิคการดูและคลำผู้ตรวจเผชิญหน้ากับผู้ใช้ยริการใช้ปลายนิววนเป็นวงกลมและเบาๆไปทั่วศีรษะ
การตรวจต่อมน้ำเหลือง
ภาวะปกติ ไม่พบก้อน
ภาวะผิดปกติ พบก้อน นูน โต พบได้ด้วยการคลำ
เทคนิค
การดู
การคลำ
การตรวจต่อมน้ำเหลือง (lymphnode)ใช้เทคนิตการดูความยืนหยุ่น ความยืดติดกับเนื้อเยื้อการอักเสบผิวหนังที่ปกคลุมและการคลำ โดยจะหาขนาด
การตรวจตา หู จมูก ปาก เป็นการตรวจลักษณะความผิดปกติทั่วไป
การตรวจใบหน้า
การดู
Nephrotic syndrome
ใบหนาบวมมาก จนทำให้สีผิวค่อนข้างซีด การบวมเริ่มจากยริเวณรอบๆตา
Cushing syndrome
ใบหน้าจะกลม เรียกว่า moon face แก้มป่อง ผมหยาบ
การตรวจคอ
เทคนิค
1.ดู
คลำ
การตรวจคอใช้เทคนิคการดูและการคลำเป็นการตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid และ trapezius
การตรวจหลอดลมคอ
ใช้เทคนิค การคลำ ให้ผู้ใช้บริการอยู่ท่านั่งหรือนอนหงาย หน้าตรง
ภาวะปกติ หลอดลมอยู่ตรงกลางคอ คือนิ้วทั้งสองแยงได้สะดวกเท่ากัน คลำได้เนื้อนุ่มๆเท่ากันทั้งสองข้าง
ภาวะผิดปกติ หลอดลมเฉียงไปทางใด นิ้วที่แยงของฝั่งตรงข้ามจะแยงได้สะดวกกว่าและอาจคลำพบวงกระดูกอ่อนของหลอดลม
การตรวจต่อมไทรอยด์
การดู
2,การคลำ
การคลำจากด้านหน้า
การคลำจากด้านหลัง
การตรวจเต้านม
การดู
จัดให้ผู้ใช้บริการนั่ง เปลื้องเสื้อออกจนถึงเอว แขนปล่อยไวข้างลำตัวหรือข้างเอว
การตรวจรักแร้
การดู
สังเกตสีผิวและก้อนยริเวณรักแร้
การคลำ
อาจตรวจในท่านั่งหรือนอน นิยมใช้ท่านั่งแขนอยู่ข้างลำตัว การตรวจรักแร้ขวา
เทคนิคการตรวจร่างกาย
การเคาะ (Percussion)
การคลำ (Palpation)
การฟัง (Auscultation)
การดู (Inspection)