Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4การประเมินภาวะสุขภาพการวิเคราะผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ -…
บทที่4การประเมินภาวะสุขภาพการวิเคราะผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Potassium K+
ภาวะโพแทสเซียมต่ า Hypopotassium K+
ภาวะโพแทสเซียมสูง Hyperpotassium K+
ค่าวิกฤตต่ า= น้อยกว่า2.8 mmol/L(ผู้ใหญ่2.5 mmol/L(ทารกแรกเกิด)
ค่าวิกฤตสูง=มากกว่า6.2 mmol/L(ผู้ใหญ่)8.0 mmol/Lทารกแรกเกิด
Sodium Na+
ช่วยรักษาปริมาตรความเข้มข้นและกระจายตัวของของเหลวระหว่างภายในและนอกเซลล์
ช่วยในการนำส่งกระแปรสาท
ช่วยควบคุมกรด-ด่าง
ภาวะโซเดียมต่ า HypoSodiumNa+
ค่าต่ำกว่ำปกติ :
น้อยกว่า 135 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะโซเดียมต่ำ
สูญเสียหน้าที่ เช่น ไตวาย
กลุ่มอาการหลั่งฮอร์โมน ADH ไม่เหมาะสม
GI loss เช่น ท้องเสีย
อาเจียนรุนแรง
การสูญเสียน้ าออกจาก
ร่างกายน้อยกว่าปกติ
การได้รับยาที่มีผลกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วน
หน้าให้หลั่ง ADH เพิ่มขึ้น เช่น NSAID
การได้รับน้ำมากเกินไป
เบาหวานที่ควบคุมระดับน้ าตาล
ในเลือดไม่ได้
การตรวจการทำงานของไต
Creatinine(Cr)
3.BUN / Creatinine Ratio
Estimated glomerular filtration
rate : eGFR
Blood Urea
Nitrogen(BUN)
Creatinine clearance
ภาวะโซเดียมสูง HyperSodium Na+
ค่าสูงกว่ำปกติ :
สูงกว่า 145 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลท ำให้เกิดภำวะ
โซเดียมสูง
การได้รับน้ าไม่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
การได้รับโซเดียมเข้าสู่ร่างกาย
มากกว่าปกติ
การสูญเสียน้ าออกจากร่างกายมากกว่าปกติเนื่องจาก เบาจืด เบาหวาน ไข้สูงหายใจเร็ว
กาทำงานของตับ(Liver function test)
Total Protein
Albumin
Globulin
Gramma-glutamyltranspeptidase(GGTP)
การทำงานของหัวใจ
HbA1C
Thyroid function
FBS
Cortisol
ภาวะแมกนีเซียมสูง Hypermagnesemia
ค่าต่ำกว่ำปกติ :มากกว่า2.1 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิด
ภาวะแมกนีเซียมสูง
Renal failure
DKA
Leukemia
Nephrotoxic drugs
Damage kidneys & leading
to renal insufficiency
Intake MOM overdose
Severe preeclampsia
receiving IV Magnesium
sulfate
Phosphorus, Phosphate (P)
ภาวะฟอสฟอรัสต่ า Hypophosphatemia
ค่าตำ่กว่า
ปกติ :
น้อยกว่า
2 mg/dl
ภาวะฟอสฟอรัสสูง Hyperphosphatemia
ค่าตำกว่าปกติ :
มากกว่า
4.5 mg/dl