Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อ ข้อ, image, image, image, image, image,…
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อ ข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ
การตรวจนวิ้มือและข้อนวิ้ (Wrist Joints and Hand Joints)
การดูและการคลํา
ดูลักษณะการบวมแดง ตลอดจนการผิดรปูของข้อ ข้อทมี่ีการเบี่ยงเบน ไปของ Ulnar หรือ Radial มากเกินไป คลําบริเวณข้อมือและข้อนิ้ว เมื่อพบว่า บวม ร้อน กดเจ็บหรือไม่ ถ้ามีการกดเจ็บ แสดงถึงการอักเสบของข้อ
ตรวจการเคลื่อนไหวของขอมือและนิ้วมือ
การตรวจข้อศอก (Elbow point)
การดูและการคลํา
สังเกตดูสี อาการบวม ก่อนของบริเวณ ข้อศอก การผิดรูปของข้อ คลําว่ามีอาการ ปวด บวม ร้อน กดเจบ็หรือไม่ คลําเอ็นยดึ ก่อน คลำปุ่มกระดูก Olecranon process, Epicondyle ของกรดูกต้นแขนด้านข้าง
การตรวจข้อตะโพก (Hip joint)
การดู
ให้ดูการเดินและการยืนของผู้รับบริการว่า ลักษณะการเดินมีการ เคลื่อนไหวมากน้อยเพียงใด ให้เปรียบเทียบกับด้านตรงข้าม
การคลำ
ให้คลําบริเวณรอบ ๆ ข้อตะโพกและรอบ ๆ ทั้ง 2 ข้าง ได้แก่ Anterior superior Iliac spine คลําเพื่อหาว่ามีการบวม ร้อน กดเจ็บและมีเสียงกรอบแก รบหรือไม่
การตรวจความเคลื่อนไหวของตะโพก
ทดสอบการเคลื่อนไหวของข้อไหล่
การตรวจข้อเข่า (Knee joints)
การดู ดูผวิหนังว่ามกีล้ามเนื้อลีบหรือไม่สีผิว อาการบวม เปรียบเทยีบกนัทงั้ 2 ข้าง การคลำ คลําดูว่ามีบวมร้อนและกดเจ็บหรือไม่มีน้ำอยู่ในข้อหรือไม่ ข้อเข่าปกติจะมีสารน้ำหล่อเลี้ยง
การตรวจการเคลื่อนไหวของข้อเข่า
การตรวจร่างกายระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ
การดู (Inspection)
สังเกตโครงสร้างร่างกายโดยสังเกตลักษณะการยืนตรง สังเกตขนาดและความสมมาตรของกล้ามเนื้อ ถ้ามีกล้ามเนื้อลีบทั้ง สองข้างจะบ่งบอกถึงการขาดเส้นประสาทไปเลี้ยงบริเวณนั้น
การคลำ (Palpation) หรือ การวัด (Measurement)
คลําบริเวณ ผิวหนังเพื่อสัมผัสให้ทราบถึงอุณหภูมิ ความรู้สึก ความอ่อนนุ่ม คลําดูลกัษณะการเจ็บปวด บวม และร้อน ตรวจลักษณะ ขนาดผิดรปูร่าง
การวัดขนาดรอบวง
การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด (Range of motion)
การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Test of muscle strength)
Isometric testing คือ การทดสอบโดยผู้รับบริการ เกร็งกล้ามเนื้อ ไว้หลังจากเกิดการเคลื่อนไหวอยา่งเต็มที่แล้ว พยาบาลพยายามเอาชนะการหดตัวของกล้ามเนื้อนั้น
นิ้วเท้า
วิธีการทดสอบกําลังของกล้ามเนื้อ
Isotonic testing คือ การทดสอบโดยผู้รับบริการพยายามออกแรง การเคลื่อนไหวข้อในขณะทพี่ยาบาลออกแรงต้านเพ่ื่อขัดขวางการเคลื่อนไหว
ระดับกําลังของกล้ามเนื้อ ดังต่อไปนี้ Grade 0 ไม่มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเลย Grade 1 มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดขึ้นพอเห็นได้Grade 2 เคลื่อนไหวตามแนวราบได้เมื่อไม่มีความโน้มถ่วงต้านไว้Grade 3 ต้านความโน้มถ่วงได้แต่ต้านแรงทานไม่ได้Grade 4 ออกแรงต้านทานได้แต่อยู่กว่าปกติ Grade 5 เคลื่อนไหวและต้านแรงได้ตามปกต
การซักประวัติ (History taking)
อาการสำคัญที่นํามาโรงพยาบาล (Chief compliant) การซัก ประวัติถึงอาการสําคัญที่มาโรงพยาบาลอย่างละเอยีดและถูกต้อง
ประวัติอาการสําคัญที่พบ บริเวณที่เริ่มปวด ระดับความรุนแรงของอาการปวด ช่วงระยะเวลาของวันที่เกิดอาการปวด
การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ และสังเกตพบได้ ได้แก่ การเดิน
การตรวจข้อเท้าและข้อนิ้วเท้า (Ankle joints and metatarsal joints)
การดูและการคลํา
ดูสีผิว อาการบวม และลักษณะรูปร่างความ ผิดปกติที่พบบ่อยในเด็กทารก ได้แก่ เท้าปุก (Club foot) การบิดเข่าของฝ่าเท้า การคลําให้คลําว่ามีการบวม ร้อน และกดเจ็บหรือไม่
การตรวจการเคลื่อนไหวของข้อเท้าและข้อนิ้วเท้า
กายวิภาคศาสตร์
ข้อ (Joints)
แบ่งตามชนิดของส่วนประกอบของข้อได้แก่ เส้นใย (Fibrous) กระดูกอ่อน (Cartilaginous) เยื่อหุ้มข้อ (Synovial)
แบ่งตามระดับของการเคลื่อนไหวได้ 3 แบบ
เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เรียกว่า Amphiarthrodial
เคลื่อนไหวได้เต็มที่ เรียกว่า Diarthrodial joints
เคลื่อนไหวไม่ได้เลย เรียกว่า Synarthrodial
ข้อ คือ เนื้อเยื่อส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกตั้งแต่ 2 ชิ้น ขึ้นไป ช่วยให้ มีความมั่นคงของข้อขณะที่มีการเคลื่อนไหว
เอ็น (Ligaments or tendons)
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันท่ีเชื่อมระหว่างกระดูกและกระดูก หรือ ระหว่าง กล้ามเนื้อและกระดูก ทําหน้าที่ช่วยประคับประคองข้อไม่ให้บาดเจ็บในขณะ เคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscles)
เส้นใยกล้ามเนื้อซึ่งยึดจับกับกระดูกเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อส่วนใหญ่เคลื่อนไหวตามที่สมองสั่ง
กระดูกอ่อนและเยื่อหุ้มข้อ (Cartilage and bursa)
ช่องระหว่างเยอื่หุ้มข้อ (Bursa) คือ ถุงเล็กๆ หรือช่องที่อยู่ในเนื้อเยื่อ เกี่ยวพนัที่อยู่รอบๆ ข้อเฉพาะบางแห้ง ไ้แก ข้อไหล่ และข้อเข้า Synovial Fluid ซึ่งทำหน้าที่หล่อลื่นข้อบรรจุอยู่ Bursa
กระดูกอ่อน เป็นเนื้อเยื่อแผ่นค่อนข้างเรียบลื่นแผ่ปกคลมุรอบ ๆ ปลาย กระดูก ทําให้บริเวณผิวของข้อเรียบ
กระดูก (Skeleton)
หน้าที่จะเป็นตัวกําหนด รูปร่างและผิวหน้าของกระดูก เช่น กระดูกยาว (Long bone) จะทําหน้าที่เป็นคาน
การตรวจพิเศษ
True for Leg Length Discrepancy เป็นการวัดหาความยาวของขา ทั้งสองข้างเพื่อหาต้นเหตุของการเดินกะเผลกจากขายาวไม่เท่ากัน
Apparent leg Length Discrepancy ให้นอนหงายแล้ววัดความ ยาวจากสะดือลงมายัง Medial malleolus ที่ข้อเท่าทั้ง 2 ข้าง
Tennis Elbow Test เป็นการตรวจเพื่อหาว่ามีการอักเสบของ Common extensor epicondylitis
Straight leg raising test เป็นการตรวจว่ามีการตึงของ Spinal cord, Cauda equina หรือ Sciatic nerve
Drop Arm Test ตรวจว่ามีการขาดของเอ็นท่ีพาดผ้านทั้ง กระดูก Humerus (Rotator cuff) หรือไม่
Hoover Test เป็นการตรวจวินิจฉัยอาการปวดขาเกิดจากการแกล้งทำ (Malingering) หรือไม
The Yergason test เป็นการตรวจว่ามี Tendonitis หรือไมโดยให้ผู้รับบริการงอข้อศอกทำExternal rotation พร้อมกับ เกร็งข้อศอกขึ้น ถ้ามีอาการเจ็บปวดขึ้นที่ไหล้ แสดงว่ามี Tendonitis