Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การประเมินภาวะสุขภาพ การวิเคาระห์ผลทางห้องปฏิบัติการ และ…
บทที่4 การประเมินภาวะสุขภาพ การวิเคาระห์ผลทางห้องปฏิบัติการ และ การตรวจพิเศษ
การตรวจเลือด
ค่ําวิกฤติ คือ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มีความแตกต่างจากช่วงค่าปกติมาก หรือผลการตรวจที่ผิดปกติ ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่อาจก่อเกิดอันตรายกับตัวผู้ป่วย ถ้าไม่ได้รับการรักษาโดยเร็ว จำเป็นจะต้องรายงานแพทย์โดยด่วน
การตรวจหาความสมบูณร์ของเม็ดเลือด CBC
เพื่อตรวจสุขภาพโดยทั่วไปหาโรคเรื้อรังเกี่ยวกับเลือดชนิดใด หรืออวัยวะใด
เพื่อตรวจวินิจฉัยว่ามีแนวโน้มเป็นโรคโลหิตจาง(Anemia) และเฝ้าตรวจและติดตามผลการรักษา
เพื่อตรวจบ่งชี้สภาวะการอักเสบใดๆทั่วทั้งร่างกาย
เพื่อตรวจวิเคราะห์ในการวินิจฉัยและการรักษา เช่น การได้รับยาเคมีบำบัด
การพยาบาล
ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวัง
อาการ
ประเมินประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการติดเชื้อ อาจมี
ผลท าให้ RBC ลดลง
ประเมินเกี่ยวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
การตรวจหาจำนวนเม็ดเลือดขาว
การพยาบาล
คอยสังเกตและบันทึกอาการการติดเชื้อ
ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้เกิดเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ(Leukopenia)จากการติดเชื้อ จนกว่าร่างกายจะไม่มีปัญหาติดเชื้อ
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ทำให้เพิ่มหรือลดจำนวน WBC ได้
เม็ดเลือดแดงอิลิโทรไซด์
เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง และตรวจจ านวนเม็ดเลือดแดง(RBC) ในเลือดว่า มีอยู่ในระดับปกติหรือไม่ โดยเป็นการตรวจดูเกี่ยวกับการจับออกซิเจน ของ Hemoglobin และ Iron containing protein
2.มีหน้าที่ในขนส่งออกซิเจนจากปอดด้วยวิธีการให้ออกซิเจนจับที่บริเวณผิวของเม็ดเลือดแดง ส่งให้ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย โดยจะมีอายุขัยประมาณ 120 วัน
3.ค่ําสูงกว่ําปกติ: แสดงถึงภาวะของโรคมะเร็งหรือโรคไต Renal cell carcinoma หรือโรค เลือด(Polycythemia vera) อาจเกิดจากภาวะขาดน้ า(Dehydration)โดยมีผลท าให้จ านวน
เม็ดเลือดแดงต่อน้ าเลือด 1 ลบ.มม.
4.ค่าต่ำกว่าปกติ : เกิดภาวะโลหิตจาง(Anemia), ตกเลือด(Bleeding), ภาวะไตวายเรื้อรัง
(Chronic Renal failure)
Erythrocyte
Indices ดัชนี เม็ดเลือดแดง
ปริมาณเฉลี่ยของ
ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
เข้มข้นเฉลี่ยของฮีโมโกลบินในเม็ด
เลือดแดง
ความกว้างของการกระจายขนาดเม็ดเลือดแดง
แสดงถึงความแตกต่างของขนาด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
ฮีโมโกลบินหรือเฮโมโกลบิน
คือส่วนหนึ่งของ
ระบบไหลเวียนโลหิตซึ่งเป็นโปรตีนสำคัญจะอยู่ในเม็ดเลือดแดงและช่วยนำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย องค์ประกอบส าคัญของ
เฮโมโกลบินคือ ฮีม (Heme) ซึ่งมีธาตุเหล็กโดยเป็นส่วนประกอบ
ทำหน้าที่จับและปล่อย
ออกซิเจนเป็นการตรวจความเข้มข้นของระดับฮีโมโกลบินในเลือด เนื่องจากสารฮีโมโกลินอยู่ในเม็ดเลือดแดง ทำให้ระดับฮีโมโกลบินสัมพันธ์กันโดยตรงกับปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดและปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่น
(hematocrit)
หน่วยเป็น กรัมเปอร์เดซิลิตร
hematocrit
ค่าสูงกว่าปกติ: ติดตามประเมินภาวะขาดน้ำติดตามความรุนแรงในกรณีไข้เลือดออก ภาวะเลือดหนืด ( Polycythemia ) แนะน าให้ดื่มน้ำมากๆ รักษา
ร่างกายให้อบอุ่น
ค่าต่ำกว่าปกติ : ติดตามประเมินภาวะการเสียเลือด (Hemorrhage) ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงภาวะโลหิตจาง และใช้ประกอบการประเมินภาวะขาดสารอาหารร่วมกับErythrocyte Indices โดยแนะนำและจัดโภชนาการให้เหมาะสม
การตรวจอิเลคโตรไลท์
เพื่อตรวจหาระดับเกลือแร่(อิเลคโตรไลท์) ในร่างกายโดยการตรวจ ค่าอิเล็กโทรไต์( Electrolyte ) เพื่อจะทราบว่า สารละลายสื่อน าไฟฟ้า Electrolyte ชนิดต่างๆ ของแร่ธาตุ ( Mineral ) ในเลือดว่ามีค่าอยู่ในสภาวะสมดุลหรือไม่ หรือเพื่อจะทราบว่าค่าแร่ธาตุใดมีปริมาณสูงหรือต่ ากว่าเกณฑ์ปกติไปมากน้อยเพียงใด เนื่องจากความผิดปกติของแร่ธาตุตัวใดๆ นั้น อาจบ่งชีถึงความไม่เป็นปกติภายในร่างกายของผู้รับการ
ตรวจเลือดได้
เพื่อหาความผิดปกติที่เกิดจากการควบคุมระดับเกลือแร่(อิเลคโตรไลท์) ในร่างกาย
เพื่อหาความผิดปกติของอวัยวะ เช่น ไต หรือภาวะที่เกี่ยวข้องที่ควบคุมระดับเกลือแร่
(อิเลคโตรไลท์) เช่น ภาวะความไม่สมดุลของอิเลคโตรไลท์
ภาวะโซเดียมสูง
ค่ําสูงกว่ําปกติ :
สูงกว่า 145 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภําวะ
โซเดียมสูง
การสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย
มากกว่าปกติเนื่องจาก เบาจืด เบาหวาน ไข้สูง
หายใจเร็ว
การได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
การได้รับโซเดียมเข้าสู่ร่างกาย
มากกว่าปกติ
ภาวะโพแทสเซียมต่ำ
การได้รับยา Diuretics, Digitalis,
Corticosteroids
การเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์
(Shift into cells)
ท้องเสีย (Diarrhea) อาเจียน
(Vomiting)
โพแทสเซียม
ประเมินติดตามผลโพแทสเซียมในผู้ป่วยที่ได้รับสารประกอบที่มีโพแทสเซียมสูง ผู้ที่ได้รับยา Heparin กลุโคสNSAIDs และยาปฏิชีวนะที่มีส่วนประกอบของโพแทสเซียม natural licorice, คอร์ติโคสเตียรอยด์ยากลุ่ม ACE inhibitors หรือ อินซูลินผู้ที่มีอาการอาเจียนรุนแรง และผู้ที่ได้รับยาระบาย
ดูแลให้สารประกอบโพแทสเซียมหากมีภาวะโพแทสเซียมต่ำ เช่น
กล้วย ส้ม และงดหากมีโพแทสเซียมสูง
ติดตามอาการภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้แก่ ติดตามสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิด รวมถึงผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ(โดยเฉพาะภาวะโพแทสเซียม
สูง) บันทึกน้ำเข้าออก
Hypochloremia
ค่าต่ำกว่าปกติ :
น้อยกว่า 96 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิด
ภาวะคลอไรด์ต่ำ
ภาวะไตวาย เบาหวานชนิดที่มีเลือดเป็นกรด
ชนิดคีโตนคั่ง
ภาวะไฟไหม้น้ำร้อนลวก(Burn)
ภาวะคุชชิงซินโดรม
หัวใจล้มเหลว อาเจียน
อาจเกิดจากความผิดปกติของ
ฮอร์โมนขับน้ำออกจากร่างกายให้คลอไรด์ในเลือดเจือจางลง