Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการศึกษาในสถานศึกษาตามประเภทและระดับการศึกษา, นางสาวสุกัญญา …
การจัดการศึกษาในสถานศึกษาตามประเภทและระดับการศึกษา
หมวด 4
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้เเละพัฒนาตนเองได้
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ/นอกระบบ/ตามอัธยาศัยต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้เเละบูรณาการตามความเหมาะสม
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาเเละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้
1 เนื้อหาสาระกิจกรรมที่สอดคล้อง
2 ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ แก้ปัญหา
3 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
4 ผสมผสานความรู้ด้านต่างๆ
5 ส่งเสริมให้ผู้สอนสร้างบรรยากาศการเรียนรู้
6 จัดการเรียนรู้ให้เกิดทุกเวลา ทุกสถานที่.
มาตรา 25
รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานเเละการจัดตั้งเเหล่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ทุกรูปเเบบ ได้เเก่ ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธาระณะ แหล่งข่อมูล และเเหล่งการเรียนรู้อื่นอย่างพอเพียงเเละมีประสิทธิภาพ
มาตรา 27
ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรเเกนหลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
มาตรา 29
ให้สถานศึกษาร่วมกับ บุคคล ครอบครัว ชุมชน ฯ
มาตรา30
ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ร่วมทั้งครูการส่ง้สรืมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
หมวดที่ 1.
บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา 6
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ร่างกาย จิตใจ สติปัญยา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต
มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
2 .ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระเเละกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
หมวด 3
ระบบการศึกษา
มาตรา 15 การจัดการศึกษามี 3 รูปเเบบ คือ
การศึกษานอกระบบ
มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย และเนื้อหามีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของเเต่ละบุคคล
การศึกษาตามอัธยาศัย
เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อม โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพเเวดล้อม สื่อ เเละเเหล่งเรียนรู้อื่นๆ
การศึกษาในระบบ
กำหนดจุดมุ่งหมายเเน่นอน
มาตรา 17
ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี
มาตรา 16
การศึกษาในระบบมี 2 ระดับ คือ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (จัดไม่น้อยกว่า 12 ปี)
การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งออกเป็นสองระดับ คือ
ระดับต่ำกว่าปริญญา / และระดับปริญญา
มาตรา 19
การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิททยาลัยสถาบัน วิทยาลัย ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกัยสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 18
การจัดการศึกษาปฐมวัยเเละการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษาดังต่อไปนี้
1.สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้เเก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์บริการช่วยเด็กที่มีความบกพร่อง
โรงเรียน ได้เเก่ โรงเรียนของรัฐ / เอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนาหรื่อศาสตร์อื่นๆ
ศูนย์การเรียน หน่วยงานจัดการศึกษานอก โรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน ฯ
มาตรา 20
การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ เเละเอกชน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 2
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10
การจักการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่า 2 ปี รัฐจัดให้และไม่เก็บค่าใช้จ่าย
สำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สำหรับบุคคลดังกล่าวมีสิทธิเเละโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
การศึกษาสำหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งเเต่เเรกเกิด ให้ได้รับการดูเเลอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
พระราชบัญญัติ การศึกาาเเห่งชาติ พ.ศ. 2542 เเก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และ ( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ.2553
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
ประกันคุณภาพภายนอก = การประเมินผลเเละการติดตามตรวจสอบคุณภาพเเละมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก (โดยสำนักงานมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา/บุคคลภายนอก/หน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรัรอง)
ประกันคุณภาพภายใน = การประเมินผลเเละการติดตามตรวจสอบคุณภาพเเละมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน (โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง)
มาตรฐานการศึกษา = ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกเเห่ง
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน = สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานศึกษา = สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัยสถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษารัฐ/เอกชน
การศึกษา = กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
การศึกษาตลอดชีวิต = การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง ในระบบ/นอกระบบ/ตามอัธยาศัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่อง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน = การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
นางสาวสุกัญญา เลิกม๊อก 135 s. 01