Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:pencil2:ดัชนีอนามัยและการวัดความเสี่ยงของการเกิดโรค - Coggle Diagram
:pencil2:ดัชนีอนามัยและการวัดความเสี่ยงของการเกิดโรค
ดัชนีอนามัย
เครื่องบ่งชี้ความถี่ของการเกิดโรค เจ็บป่วย พิการ ตาย และอื่นๆ
ลักษณะที่ดี
ความมีอยู่ทั่วไป
การยอมรับ
คุณภาพ
ความง่าย
ความสมบูรณ์ของการครอบคลุม
การผลิตได้ใหม่
ความจำเพาะ
ความไว
การหามาได้
ความถูกต้อง
เครื่องบ่งชี้ภาวะสุขภาพอนามัยของชุมชน โดยมากเป็นการวัดด้านปริมาณ ในรูปอัตร อัตราส่วน สัดส่วน ในทางระบาดวิทยามักใช้รูปอัตราเป็นส่วนใหญ่
อัตรา (Rate)
เป็นการเปรียบเทียบจำนวนความถี่ของโรคหรือลักษณะบางอย่างต่อหน่วยประชากรที่ได้เฝ้าสังเกต
ตัวเศษ และส่วย คล้ายคลึงกัน เช่น เพศและเชื้อชาติ เป็นต้น
ตัวเศษมักมาจากตัวหารเสมอ
ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ใน กลุ่มประชากรที่ศึกษษ ณ ช่วงเวลาที่กำหนด
:warning:
ตัวส่วน = จำนวน เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น (เกิดหรือไม่เกิดก็ได้)
อัตราส่วน (Ratio)
ตัวเศษ ไม่เป็นสมาชิก ตัวส่วน
วัดสิ่งที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์
ช่วงเวลาที่เราสนใจ
การเปรียบเทียบระหว่าเลขตัวเศษ (ประชากรกลุ่มหนึ่ง) และ ส่วน(ประชากรอีกกลุ่ม)
อัตราส่วนเด็กเกิดไร้ชีพ
เด็กเกิดไร้ชีพ ต่อ เด็กเกิดมีชีพ 1000 คนต่อปี
สัดส่วน(Proportion)
เหตุการณ์ที่สนใจ
เป็นสัดส่วนเท่าใด
ต่อ
เ
หตุการณ์ทั้งหมด
ที่เกิดขึ้น
ตัวส่วน=เหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นแล้ว
สัดส่วนการตาย
แปลงเป็นรูปร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์
ใช้สำหรับพิจารณาสาเหตุการตายคร่าวๆ
เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยที่ตายด้วยสาเหตุหนึ่ง กับ จำนวนคนตายด้วยสาเหตุต่างๆทั้งหมด
สัดส่วนสาเหตุการป่วย
เปรีบเทียบจำนวนผู้ป่วยด้วยสาเหตุหนึ่ง กับ จำนวนผู้ป่วยด้วยสาเหตุต่างๆทั้งหมด
แปลงเป็นรูป ร้อยละ
ประชากรกลางปี
จำนวนประชากรกลางปี
( 1 กรกฎาคม)ของปีที่กำหนด (ได้จากการสำรวจสำมะโนประชากรในวันดังกล่าว)
วิธีนี้ไม่นิยมเพราะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก
การประมาณค่าจำนวนประชากร
อาศัยข้อมูลจากการสำรวจสัมมะโนประชากรและนำมาคาดประมาณโดยอาศัย
วิธีการทางสถิติ
การคำนวณ
ใช้สถิติการจด
นับตามทะเบียบบ้านราษฎร
ของ
กระทรวงมหาดไทย
นิยมใช้มาก
อัตราเกิด
อัตราอย่าหยาบ
สะท้อนให้เห็นบริการด้านการวางแผนครอบครัว ภาวะเจริญพันธุ์ และระดับสุขภาพอนามัยชุมชน
เด็กเกิดมีชีพทั้งหมด*1000/จำนวนประชากรกลางปี
อัตราเจริญพันธุ์
ตามอายุ
จำนวนเด็กเกิดมีชีพตามอายุมารดาที่กำหนด ต่อ จำนวนหญิงกลุ่มเดียวกัน 1000 คน ต่อปี
รวม
ผลรวมของอัตราเจริญพันธุ์จำเพาะตามอายุแต่ละอายุ ระหว่าง 15-49
ความสามารถสตรีวัยเจริญพันธุ์ ให้กำเนิดบุตรมีชีพได้ตลอดช่วงวัยเจริญพันธุ์
ทั่วไป
เด็กเกิดมีชีพ ต่อ หญิงวัยเจริญพันธุ์ 1000 คนต่อปี
จำนวนเด็กเกิดมีชีพในระหว่างปี *1000 /จำนวนหญิงเจริญพันธุ์อายุ ปี
ประเทศตะวันตก15-44 ปี เอเชีย 15-49ปี
ทดแทน
ผลรวมของอัตราเจริญพันธู์จำเพาะตามอายุ
คิดจำนวนเฉพาะเด็กเกิดมีชีพเพศหญิง
การวัดอัตราตาย
จำเพาะ
การตายที่ระบุเงื่อนไข หรือ เจาะจง เปรียบเทียบกันได้ เช่น อายุ เพศ เชื้อชาติ
จำนวนคนตายทั้งหมดในกลุ่มอายุ*1000/จำนวนประชากรกลางปีในกลุ่มอายุเดียวกัน
จำเพาะต่อโรค
โรคไข้เลือดออก
โรคมะเร็งปอด
อย่างหยาบ
อัตราสรุปจำนวนคนตายที่เกิดขึ้นจริง ต่อ จำนวนประชากรทั้งหมด
ไม่สามารถเปรียบเทียบสภาวะอนามัยกับชุมชนอื่นได้
อัตราป่วยตาย
ร้อยละของผู้ป่วยตายด้วยโรคใดโรคหนึ่ง
จำนวนผู้ป่วยตายด้วยโรคหนึ่งในช่วงเวลาที่กำหนด *100/จำนวนผู้ป่วยโรคนี้ทั้งหมดในระยะเวลาเดียวกัน
อัตราเด็กเกิดไร้ชีพ
จำนวนเด็กเกิดไร้ชีพ (หรือตายในท้อง) ต่อ จำนวนเด็กเกิดมีชีพและไร้ชีพ 1000 คนต่อปี
เด็กเกิดไร้ชีพที่มี่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป เรียก อัตราตายคลอด
ตังบ่งชี้การดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
อัตราตายปรีกำเนิด
เด็กเกิดไร้ชีพตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไปและจำนวนทารกก่อนอายุครบ 7วัน ต่อ เด็กเกิดมีชีพและไร้ชีพ 1000 คนต่อปี
อัตราตายของทารกแรกเกิด
จำนวนตายของทารกแรกเกิดที่มีอายุต่ำกว่า 28 วันต่อจำนวนเด็กเกิดมีชีพ 1000 คนต่อปี
อัตราตายของทารกหลังระยะแรกเกิด
จำนวนตายของทารกตั้งแต่ 28วัน จนถึงก่อนครบ1 ปี ต่อเด็กเกิดมีชีพ 1000 คนต่อปี
อัตราตายของทารก
จำนวนเด็กตายอายุต่ำกว่า 1 ปี ต่อ เด็กเกิดมีชีพ 1000คนต่อปี
อัตราตายของมารดา
จำนวนมารดาที่ตายด้วยการตั้งครรภ์ การคลอด ระยะอยู่ไฟ ต่อ จำนวนเด็เกิดมีชีพ1000 คนต่อปี
การวัดการป่วย
ดัชนีวัดผู้ป่วยใหม่
วัด
จำนวน
ผู้ป่วยใหม่ เรียก
อุบัติการณ์ของโรค
วัดอัตราผู้ป่วยใหม่ เรียก
อัตราอุบัติการณ์ของโรค
จำนวนผู้ป่วยใหม่ ต่อ ปน่วยประชากรที่เฝ้าสังเกตในช่วงระยะเวลาที่กำหนด
ดัชนีบอกถึงความรวดเร็วของการกเิดโรคและความรุนแรงรวดเร็วของการแพร่กระจายของโรค
ช่วยประเมินการป้องกันและควบคุมโรคว่าได้ผลมากน้อยเพียงใด
ถ้าอัตราอุบัติการณ์ของโรคสูงในกลุ่มประชากรที่มีปัจจัย และต่ำในกุ่มที่ไม่มีปัจจัย ปัจจัยนั้นก็อาจเป็นสาเหตุของโรค
ดัชนีวัดผู้ป่วยใหม่และเก่า
วัดจำนวนผู้ป่วยใหม่และเก่า เรียก
ความชุกของโรค
วัดอัตราผู้ป่วยใหม่และเก่า เรียก
อัตราความชุกของโรค
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดทั้งใหม่และเก่า ต่อ หน่วยประชากรช่วงระยะเวลาที่กำหนด
Attack Rate
ประชากรที่มีระยะเวลาเสี่ยงต่อการเกิดโรคในระยะเวลาสั้น เรียก อัตราป่วยเฉียบพลัน หรือ อัตราโจมจับ (Attack rate)
อัตราป่วยระลอกแรก
อัตราร้อยละ หรอื อัตราต่อพันประชากรที่มีภูมิไวรับเกิดป่วยเป็นโรค
จำนวนผู้ป่วยระลอกแรกที่ศึกษา*100/จำนวนประชากรที่เสี่ยงในช่วงเวลาเดียวกัน
อัตราป่วยระลอกสอง
ผู้ที่มีความเสี่ยงเกิดโรคและป่วยเป็นโรคขึ้น ไปสัมผัสกับผู้ป่วยกลุ่มแรก
จำนวนผู้ป่วยใหม่ทั้งหมด-จำนวนผู้ป่วยระลอกแรก *100/จำนวนผู้ป่วยที่เสี่ยง -จำนวนผู้ป่วยระลอกแรก
อัตราป่วยจำเพาะ
เช่น อัตราป่วยจำเพาะตามอายุ
จำนวนผู้ป่วยด้วยสาเหตุหนึ่งตามอายุที่กำหนด *1000 / จำนวนประชากรกลางปีในกลุ่มอายุนั้น