Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ผิวหนัง
ทำหน้าที่ปกป้องอวัยวะต่างๆ ที่อยู่ใต้ผิวหนังลงไป
จากความร้อน แสง การติดเชื้อ และสภาพแวดล้อม
ประกอบด้วย 3 ชั้น
ชั้นหนังแท้(dermis)
ชั้นไขมันใต้ผิวหนัง(subcutaneous)
ชั้นหนังกำพร้า(epidermis)
6.4วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
2.ผ้าพันแผลชนิดม้วน
(roller bandage)
เป็นม้วนกลมชนิดที่ไม่ยืด (roll gauze) และชนิดยืด (elastic bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
(special bandage)
เป็นผ้าที่มีรูปร่างแตกต่างกันไป เช่นผ้าพันท้องหลายหาง
ปัจจุบันมีวัสดุการแพทย์ที่ทันสมัยมาใช้แทน
ผ้าสามเหลี่ยม
(triangular bandage)
เป็นผ้าสามเหลี่ยมทำด้วยผ้าเนื้อละเอียดไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบเกลียวพับกลับ
(spiral reverse)
เหมาะสำหรับอวัยวะที่เป็นทรงกระบอก การพันแบบนี้ใช้พันเมื่อต้องการความอบอุ่นหรือต้องการแรงกด
การพันเป็นรูปเลข 8
(figure of eight)
เหมาะสำหรับพันบริเวณข้อพับ เช่น ข้อศอก ข้อเข่า ข้อเท้า เพื่อให้ข้อดังกล่าวเคลื่อนไหวได้
2.การพันแบบเกลียว
(spiral turn)
เหมาะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก เช่น แขน ขา นิ้วมือ นิ้วเท้า
การพันแบบกลับไปกลับมา
(recurrent)
เหมาะสำหรับการพันเพื่อยึดผ้าปิดแผลที่ศีรษะ หรือการพันแผลที่เกิดจากการถูกตัดแขน ขา (stump) เพื่อบรรเทาอาการบวมและทำให้คงรูปทรงเดิมซึ่งเตรียมตอแขนหรืตอขาไว้ใส่อวัยวะเทียม(prosthesis)
1.การพันแบบวงกลม
(circular turn)
เหมาะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก เช่น แขน ขา นิ้วมือ นิ้วเท้า
6.6กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Assessment)
การประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม
(Holistic nursing care)
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านร่างกาย
ด้านจิตวิญญาณ
การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการพยาบาล
6.2ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
(Type ofwound healing)
2.การหายของแผลแบบทุติยภูมิ
(Secondaryintentionhealing)
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได้การรักษาโดยการทำแผลจนเกิดมีเนื้อเยื่อใหม่ (granulation tissue) มาปกคลุม ซึ่งต้องใช้ระยะเวลานาน เนื่องจากแผลมีขนาดกว้าง จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
3.การหายของแผลแบบตติยภูมิ
(Tertiaryintentionhealing)
เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ เมื่อทำการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด และไม่มีอาการการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว ศัลยแพทย์จะพิจารณาปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) โดยนำผิวหนังของผู้ป่วยมาปะติดคลุมแผล
1.การหายของแผลแบบปฐมภูมิ
(Primaryintentionhealing)
เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย
และเป็นแผลที่สะอาด
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
(Absorbable sutures)
1.1 เส้นใยธรรมชาติ
ได้แก่ catgut ทำมาจาก collagen ใน submucosa ของล ําไส้แกะหรือวัว ละลํายได้เพรําะกระตุ้นให้เกิด acute inflammation โดยรอบ เริ่มยุ่ยสลําย4-5 วัน และจะหมดไปภํายใน 2 สัปดําห์
1.2 เส้นใยสังเคราะห์
เช่น polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl) และ polydioxanone (PDS)ส่วนplain catgut ละลายได้เร็ว 5-10 วัน ใช้เย็บกล้ามเนื้อที่ไม่ลึกมาก ไม่ต้องใช้แรงในการดึงรั้งมาก
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
(Non-absorbable sutures)
2.2 เส้นใยสังเคราะห์
เช่น nylon เส้นเหล่านี้มีความแข็งแรงมากกว่าไหมเย็บแผล แต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย ไม่มีปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อมากแต่ผูกปมค่อนข้างลำบาก
2.3 วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
เช่น ลวดเย็บ (staples) เป็นวัสดุเย็บแผลสำเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือสำหรับใส่ลวดเย็บ
2.1 เส้นใยตามธรรมชาติ
เช่น ไหมเย็บแผล(silk) ราคาถูก ผูกปมง่าย และไม่คลายง่าย ไหมเย็บมีหลายขนาด ตั้งแต่ 0/0 มีขนาดเส้นไหมใหญ่แรงดึงรั้งมาก เหมาะสำหรับเย็บแผลบริเวณที่มีผิวหนังหนา
6.1 ชนิดของแผลและปัจจัย
การส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
(Type of wound)
แบ่งตามลำดับความสะอาด
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แบ่งตามลักษณะ
แบ่งตามการรักษา
แบ่งตามสาเหตุ
ชนิดของแผลแบ่ง
ตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง
(dry wound)
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกัน อาจเกิดการติดกันเอง
หรือจากการเย็บด้วยวัสดุเย็บแผล ไม่มีสารคัดหลั่ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม
(wet wound)
ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน
หรือขอบแผลกว้าง มีสารคัดหลั่ง
ชนิดของบาดแผลแบ่ง
ตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง
(chronic wound)
เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน และรักษายากหรือรักษา
เป็นเวลานาน อาจมีอาการแทรกซ้อนตามมาภายหลัง
แผลเนื้อตาย
(gangrene wound)
เป็นแผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยงหรือเลือดมาเลี้ยง
ไม่เพียงพอ สาเหตุจากหลอดเลือดตีบแข็ง
แผลที่เกิดเฉียบพลัน
(acute wound)
เป็นการเกิดแผล และรักษาให้หายในระยะเวลาอันสั้น
หรือการหายของแผลเป็นไปตามขั้นตอนการหายของบาดแผล
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
(Local factors)
1.2 ภาวะแวดล้อมแห้ง
(dry environment)
1.1แรงกด
(pressure)
1.3 การได้รับอันตรายและอาการบวม
(trauma and edema)
1.4 การติดเชื้อ
(infection)
1.5 ภาวะเนื้อตาย
(necrosis)
1.5.1 slough มีลักษณะเปียก (moist) สีเหลือง (yellow)เหนียว (stringy) หลวมยืดหยุ่น (loose) ปกคลุมบาดแผล
1.5.2 eschar มีลักษณะหนา เหนียว (thick) คล้ายหนังสัตว์มีสีดำ (black) ลักษณะเนื้อตายนี้ต้องตัดออกก่อนการทำความสะอาดแผล จะทำให้แผลหายได้ดีตามลำดับ
1.6 ความไม่สุขสบาย
(incontinence)
ปัจจัยระบบ
(Systemic factors)
2.3 น้ำในร่างกาย (body fluid)
2.4 การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง
(vascular insufficiencies)
2.2โรคเรื้อรัง(chronic disease)
2.5 ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
(immunosuppression and radiation therapy)
2.1 อายุ (age)
2.6 ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
6.5ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
แผลกดทับ
บริเวณผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ที่มีการทำลายเฉพาะที่จากแรงกดทับ แรงเสียดทําน และแรงเฉื่อย ที่มากระทำอย่างต่อเนื่อง จะพบผิวหนังมีลักษณะเป็นรอยแดง และมีการแตกทำลายของผิวหนังทำให้ผู้ป่วยได้รับความเจ็บปวดและทุกข์ทรมาน
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
1.2 ภาวะโภชนาการ
1.3ยาที่ได้รับการรักษา
1.1 อายุ
1.4 การผ่าตัด
2.ปัจจัยภายนอกร่างกาย
2.2แรงเสียดทาน
2.3 แรงเฉือน
2.1 แรงกด
2.4 ความชื้น
6.3วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง(Dry dressing)
การทำแผลที่ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผลใช้ทำแผลสะอาดแผลปิดแผลที่ไม่อักเสบเป็นแผลเล็กไม่มีสารคัดหลั่งมาก
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
การทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล ใช้ทำแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ แผลที่มีสารคัดหลั่งมาก ซึ่งการปิดแผลขั้นแรกจะใช้วัสดุที่มีความชื้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
วัสดุสำหรับปิดแผล
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
1.1ชุดทำแผล (dressing set)
ปราศจากเชื้อ ประกอบด้วย ปากคีบไม่มีเขี้ยว (non-tooth forceps) ปากคีบมีเขี้ยว (tooth forceps) ถ้วยใส่สารละลาย(iodine cup) สำลี (cotton ball) และgauze
1.2สารละลาย(solution)
1.2.1แอลกอฮอล์
1.2.2น้ำเกลือล้างแผล
1.2.3 เบตาดีน หรือโปรวิโดน ไอโอดีน