Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ Urinary system Infection during pregnancy -…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะ
Urinary system Infection during pregnancy
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สําคัญของระบบทางเดินปัสสาวะ
การถูกกดทับของมดลูกที่มีขนาดโตขึ้นขณะตั้งครรภ์
ทําให้มีการคั่งของน้ําปัสสาวะในไต ท่อไต ค้างอยู่นาน เกิดการติดเชื้อ
เกิดการติดเชื้อและมีการย้อนกลับของเชื้อเข้าสู่ไต
ทําให้เกิดภาวะ pyelonephritis
การเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
มีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มขึ้น
เพิ่มหน้าที่การกรองของไตขึ้น
ทําให้ระดับ creatinine และ BUN ในเลือดลดต่ําลง
tubule
ดซึมกลับของโซเดียม กรดอมิโนส่วนใหญ่ วิตามินชนิดที่ละลายน้ําได้ และกลูโคสสูงขึ้น
ดูดซึมกลับของโปรตีนีน้อยมาก ทําให้ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะได้
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบขับถ่ายปัสสาวะ
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะมีสีขุ่นหรือสีแดง
มีไข้สูง อ่อนเพลีย และปวดบริเวณท้องน้อย
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute pyelonephritis)
พบแบคทีเรียในปัสสาวะ มากกว่า 105 cfu/ml
ปัสสาวะเป็นหนอง มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอว
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ (Asymptomatic bacteriuria: ASB)
พบแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 colony forming unit/ml (cfu/ml)
ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ
กลุ่มอาการโรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ(Nephrotic syndrome)
พบโปรตีนในปัสสาวะมากประมาณ 5 กรัมต่อวัน
ปรตีนในเลือดต่ํา ไขมันในเลือดสูง
บวมโดยไม่ทราบสาเหตุ
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์น้ําหนักน้อย
คลอดก่อนกําหนด
ภาวะไตวาย (renal failure)
ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
สาเหตุ เช่น DM, SLE, glomerulonephritis
ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
สาเหตุจากการแท้งติดเชื้อ
preeclampsia with severe feature
hemolyticuremia syndrome
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไป (ascending infection)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทํางานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
ผลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) และการขยายตัวของขนาดมดลูก เป็นปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ท่อปัสสาวะอักเสบ
ปัสสาวะบ่อย
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ําล้างเนื้อ ปวดบริเวณหัวหน่าว
ปัสสาวะแสบขัด กระปิดกระปรอย
มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว
เกิดการแท้ง
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารก
คลอดก่อนกําหนด
น้ําหนักตัวน้อย
จริญเติบโตช้าในครรภ์
ตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
ปัสสาวะลําบาก
ปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะเป็นเลือด
การตรวจร่างกาย
ปัสสาวะขุ่น
ปัสสาวะเป็นสีน้ําล้างเนื้อ
ไข้ ปวดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าว
กดบริเวณcostovertebral angle จะปวดมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบไข่ขาว หรือม็ดเลือดขาว
พบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 105 dfu/ml
แนวทางการป้องกันและรักษา
แนะนําให้ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
แนะนําให้ดื่มน้ําอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ (urine culture) ในสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกทุกราย
ติดเชื้อแบบ ASB ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาทุกราย
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
ห้สารละลายทางหลอดเลือดดํา
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา
พร้อมทั้งส่งตรวจ Urine culture
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับสตรีตั้งครรภ์และทารก และแผนการรักษาพยาบาล
เน้นความสําคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ
พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยแนะนําให้นอนตะแคงเพื่อไม่ให้มดลูกไปกดทับท่อไต
ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าในถึงความจําเป็นในการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและประเมินเสียงหัวใจของทารกและการดิ้นของทารก
ระยะคลอด
เน้นเรื่องการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือทารกแรกเกิดให้พร้อม
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
แนะนําการป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการคุมกําเนิด