Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.3 การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
9.3 การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรสัตับอักเสบชนิดบี
ผลกระทบ
ทารก
ทารกที่คลอดมามีโอกาสที่จะ ติดเชื้อ
ทารกตายในครรภ์
โรคตับแข็ง
มะเร็งตับ
สตรีตั้งครรภ์
่เป็นพาหะของ Hepatitis B virus
คลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
ระยะคลอด
เมื่อศีรษะทารกคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ออกจากปากและจมูกของทารกให้มากท่สีุด หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดรอยถลอกหรือบาดแผลบริเวณผิวหนังของทารก
ทำความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด โดยฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG)
ระยะหลังคลอด
แนะนำให้นำทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกคนว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ตระหนักถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณชายโครงขวา
คลำพบตับโต
ไข้ต่ำๆ
กดเจ็บ
ปัสสาวะมีสีเข้มสีชาแก่
โรคตับอักเสบเรื้อรัง
ภาวะตับวาย
การติดเชื้อไวรสัรับอักเสบชนิดเอ
การพยาบาล
ตรวจตามนัดเพื่อประเมินสภาวะของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ ได้แก่ acetaminophen
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม
อาการและอาการแสดง
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ข้อ ศีรษะ
ดีซ่าน
ตับเหลือง ตาเหลือง
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
หายใจติดขัด หรือหายใจลำบาก
อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ภูมิต้านของร่างกายขณะตั้งครรภ์ลดต่ำ
ทารก
ทารกในครรภ์พัฒนาการล่าช้า
ติดเชื้อได้ในทันทีหลังคลอด หรือตรวจพบภายใน 7
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้ หรือผู้ที่เดินทางมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง
แนวทางการปฏิบัติในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการไอ เป็นไข้ หรือผู้ที่เดินทางมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง
การติดเชื้อไวรัสซิก้า
การพยาบาล
การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป ทั้งนี้ให้ยึดหลัก universal precaution
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
อาการและอาการแสดง
ไข้ ผื่นแดง
เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ผลกระทบ
ทารก
ภาวะศีรษะเล็ก
ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท
สตรีตั้งครรภ์
มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ
อัมพาตครึ่งซีก
ระบบทางเดินหายใจ
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส CMV
อาการและอาการแสดง
ปอดบวม ตับอักเสบ และอาการทางสมอง
ผลกระทบ
ทารก
เสี่ยงต่อภาวะ IUGR แท้ง fetal distress
hepatosplenomegal
hepatitis
สตรีตั้งครรภ์
ติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ
การพยาบาล
ระยะคลอด
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
ดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
ดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติ เพื่อคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกรายเกี่ยวกับการเจ็บป่วยติดเชื้อ CMV ในอดีต
แนะนำและเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อโปรโตซัว
อาการและอาการแสดง
ปอดบวม กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ผลกระทบ
ทารก
ทารกหัวบาตร microcephaly
หินปูนจับในสมอง
สตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำเนิด
ถุงน้ำคร่ำและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
การสังเกตอาการ ผิดปกติของทารก ต้องรีบพามาพบแพทย์
ระยะคลอด
ดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
เช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะตั้งครรภ์
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา และการสังเกตอาการข้างเคียงของยา
สุกใส
อาการและอาการแสดง
ลักษณะของผื่น และตุ่ม มักจะขึ้นตามไรผม หรือ หลังก่อน
เหมือนหยาดน้ำค้างบนกลีบกุหลาบ
ต่อมน้ำเหลืองที่คอ และหลังหูโตขึ้น
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ
ภาวะปอดอักเสบ
ระบบหายใจล้มเหลว
ทารก
การติดเชื้อในครรภ์
การติดเชื้อปริกำเนิด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง วิตามินซีสูง
ระยะคลอด
ให้การดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว ทำความสะอาดร่างกายทันทีหลังคลอด
ระยะก่อนตั้งครรภ์
แนะนำให้สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนตั้งครรภ์ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์
เว้นระยะการตั้งครรภ์อย่างน้อย 1 เดือนภายหลังการฉีดวัคซีน
ระยะหลังคลอด
แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ 5 วันแรกหลังคลอด เพื่อป้องกันการตดิ เชื้อจากมารดา
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันท
หัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
ครั่นเนื้อครั่นตัว
ตาแดง
ต่อมน้ำเหลืองหลังหูโต
เริ่มขึ้นที่ใบหน้าจากนั้นจะแผ่กระจายลงมา ตามหน้าอก ลำตัว แขนขา
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ไม่สุขสบายเล็กน้อย
ทารก
ชั่วคราว
ตับม้ามโต
ตัวเหลือง
เกล็ดเลือดต่ำ
กระดูกบาง
ถาวร
หูหนวก
หัวใจพิการ
สมองพิการ
การพยาบาล
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันหัดเยอรมันหลังคลอดทุกราย
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนมาก่อนโดยก่อนฉีดวัคซีน
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมัน การสัมผัสกับผู้ที่เป็นโรค และ อาการแสดงของโรค