Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครู - Coggle Diagram
มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
ลักษณะของวิชาชีพควบคุม
วิชาชีพครู
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
วิชาชีพควบคุมอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง (ศึกษานิเทศก์)
การประกอบวิชาชีพควบคุมต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจำกัดและเงื่อนไขของคุรุสภา ดังนี้
ต้องได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ โดยยื่นขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามที่คุรุสภากำหนด ผู้ไม่ได้รับอนุญาต หรือสถานศึกษาที่รับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา จะได้รับโทษตามกฎหมาย
ต้องประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อดำรงไว้ซึ่งความรู้ความสามารถ และความชำนาญการตามระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ
บุคคลผู้ได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ มีสิทธิกล่าวหา หรือกรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และบุคคลอื่น มีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพที่ประพฤติผิดจรรยาบรรณได้
เมื่อมีการกล่าวหาหรือกล่าวโทษ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพอาจวินิจฉัยชี้ขาดให้ยกข้อกล่าวหา/กล่าวโทษ ตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้ และผู้ถูกพักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาตไม่สามารถประกอบวิชาชีพต่อไปได้
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
คือ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู
1.มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ขอรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ต่อใบอนุญาต
ประเมินความชำนาญตามระดับคุณภาพ
ประเมินความชำนาญเฉพาะด้าน
มาตรฐานการปฏิบัติตน
จิตวิญญาณของความเป็นครู -การยอมรับของสังคม
จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
ความหมายของจรรยาบรรณวิชาชีพครู
ยนต์ ชุ่มจิต (2554 : 197)
หมายถึง ประมวลความประพฤติ หรือกิริยาอาการที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูควรปฏิบัติ เพื่อรักษาส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของความเป็นครู
สมหมาย ปวะบุตร (2558: 179)
หมายถึง กฎแห่งความประพฤติที่องค์กรวิชาชีพครูกำหนดขึ้น ให้ครูประพฤติปฏิบัติตามในแนวทางที่ถูกต้อง เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิกครู
เอมม่า อาสนจินดา และวีนันท์กานต์ รุจิภักดิ์ (2559:25)
หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับความประพฤติหรือการปฏิบัติตนของการประกอบวิชาชีพครู เพื่อรักษาหรือส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของความเป็นครู
การดำเนินการทางจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตราที่ 21 กำหนดให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพที่มีอำนาจและหน้าที่ประการหนึ่งตามมาตรา 25 (2) คือ การกำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ปัญหาจรรยาบรรณของครู
ครูไม่มีความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณ
ครูไม่มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
ครูไม่มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
แนวทางส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของครู
การบังคับใช้จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพครูอย่างเอาจริงเอาจังและมีประสิทธิภาพ
การสร้างครูที่เป็นแบบอย่างที่ดีและการบ่มเพาะความเป็นครูในกระบวนการผลิต
การสร้างระบบเครือข่ายผู้ปกครองในการเฝ้าระวังการกระทำผิดจริยธรรมของครู
การเพิ่มอัตรากำลังให้เพียงพอต่อภาระงานในโรงเรียน
การจัดการปฐมนิเทศและการฝึกอบรมครูด้านคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณอย่างต่อเนื่อง
การเสริมสร้างและปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กร
การมีส่วนร่วมอย่างจริงจังของทุกภาคส่วนในการป้องกันการกระทำความผิด
ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นหลักในการควบคุมจริยธรรมของครู
ระบบประเมินการสอนและพฤติกรรมเชิงจริยธรรมต้องกำหนดอย่างชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้
พัฒนากรอบแบบแผนที่ชัดเจนในเรื่องจริยธรรมของวิชาชีพครู