Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดและปัจจัยส่งเสริมการหาย
ชนิด
แบ่งตามสาเหตุ
ผ่าตัด เรียก surgical wound
ถูกของมีคมตัด เรียก cut wound
ถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound
โดนระเบิด เรียก explosive wound
ถูกบดขยี้ เรียก crush wound
กระแทกด้วยวัตถุกลม เรียก traumatic wound
ถูกยิง เรียก gunshot wound
ขอบแผลขาดรุ่งริ่ง เรียก lacerated wound
ถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
ติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
ตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound
กดทับ เรียก pressure sore
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และเคมี
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
สารเคมีที่เป็นกรด และด่าง
ความเย็นจัด
ไฟฟ้าช็อต
รังสี
ปลูกผิวหนัง
แบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แห้ง ขอบแผลติดกันเอง หรือเย็บแผล ไม่มีสารคัดคลั่ง
เปียกชุ่ม ขอบแผลไม่ติดกัน หรือกว้าง มีสารคัดหลั่ง
แบ่งตามลำดับความสะอาด
Class I : Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
แผลที่ไม่ติดเชื้อ ไม่อักเสบมาก่อน
Class III : Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
แผลเปอด แผลสด แผลจากอุบัติเหตุ
Class II : Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
แผลผ่าตัดผ่านทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ท่อน้ำดี อวัยวะสืบพันธ์ุ
Class IV : Dirty / Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก / แผลติดเชื้อ
แผลเก่า แผลมีเนื้อตาย แผลกระดูกหักเกิน 6 ชม.
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง แผลที่เกิดมานาน หรือรักษามานาน
แผลเนื้อตาย แผลที่เลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ
แผลเฉียบพลัน แผลที่รักษาหายในระยะเวลาอันสั้น
แบ่งตามการรักษา
รักษาศัลยกรรมกระดูกด้วยการดาม
รักษาด้วยสุญญากาศ
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลมวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยส่งเสริม
เฉพาะที่
แรงกด
ภาวะแวดล้อมแห้งแล้ง
ได้รับอันตรายและบวม
การติดเชื้อ
ความไม่สุขสบาย
ภาวะเนื้อตาย
ระบบ
อายุ
โรคเรื้อรัง
น้ำในร่างกาย
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังษีรักษา
ภาวะโภชนาการ
ลักษณะและกระบวนการหาย
ลักษณะการหาย
ปฐมภูมิ ผิวหนังสูญเสียเล็กน้อย สะอาด หายเองได้
ทุติยภูมิ สูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ทำแผลจนเกิดเนื้อเยื่อใหม่มาปกคลุม เสี่ยงติดเชื้อสูง
ตติยภูมิ ชนิดเดียวกับทุติยภูมิ เนื้อเยื่อที่เกิดใหม่สีแดงสด ไม่มีอาการติดเชื้อ
กระบวนการหาย
ระยะ 1 : ห้ามเลือด และอักเสบ
เกิดก่อน และใช้เวลา 1-3 วัน
ระยะ 2 : การสร้างเนื้อเยื่อ
จะเริ่มสร้างตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
ระยะ 3 : การเสริมความแข็งแรง
ใช้เวลาหลังผ่าตัด 20 วัน เพิ่มความแข็งแรงอีก ประมาณ 2 ปี
บันทึกลักษณะแผล
มาตรการวัด
ความยาว ความกว้าง ความลึก และช่องโพรง
สิ่งที่ควรระบุ
ชนิดของบาดแผล
ตำแหน่ง / บริเวณ
ขนาด
สี
ลักษณะผิวหนัง
ความรุนแรง
สารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บ และวัสดุที่ใช้
วิธีเย็บ
Continuous method
เย็บต่อเนื่องตลอดความยาวแผล ไม่ตัดจนกว่าจะเย็บเสร็จ
Interrupted method
Simple interrupted method
เย็บเพื่อรั้งของแผลให้ติดกัน เหมาะกับเย็บผิวหนังทั่วไป
Interrupted mattress method
เย็บโดยตักเข็มเย็บที่ของแผลสองครั้ง เหมาะกับแผลที่ลึกและยาว
Subcuticular method
เย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผล และต้องหายัสดุป้องกันแผลกดทับโดยตรง
Retention method
เย็บแบบ Continuous method แต่จะซ่อมวัสดุเย็บแผลไว้ เหมาะกับศัลยกรรมตกแต่ง
วัสดุที่ใช้
ละลายเองได้
เส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ catgut
เส้นใยสังเคราะห์ ได้แก่ polyglycolic acid , polyglycan , polydioxanone
ไม่ละลายเอง
เส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ ไหมเย็บแผล
เส้นใยสังเคราะห์ ได้แก่ nylon
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ ได้แก่ ลวดเย็บ
วิธีทำแผลต่างๆและการตัดไหม
ชนิดการทำแผล
แบบแห้ง แผลปิด แผลไม่อักเสบ ไม่มีสารคัดหลั่ง
แบบเปียก แผลเปิด แผลอักเสบ มีสารคัดหลั่งมาก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
ชุดทำแผล
สารละลาย
วัสดุสำหรับปิดแผล
plaster ชนิดธรรมดา และชนิดพิเศษ
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
ผ้าก๊อซ
ผ้าก๊อชหุ้มสำลี
ผ้าซับเลือด
วายก๊อซ
วาสลินก๊อซ
ก๊อซเดรน
อุปกรณ์อื่นๆ
กรรไกรตัดไหม
ช้อนขูดเนื้อตาย
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
ชามรูปไต
ถุงพลาสติก
การตัดไหม
หลักการ
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ว่าให้ตัดทุกอัน หรือบางอัน
ดึงออกให้หมด เพราะจะกลายเป็นสิ่งแปลกปลอม
ขณะตัดไหม ถ้าแผลแยกให้หยุด และปิดแผลด้วยวัสดุที่ดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน
วิธีตัดไหม
ใช้แอลกอฮอล์ 70% เช็ดรอบแผล เช็ดรอบพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน ตามด้วยแอลกอฮอล์70% และน้ำเกลือ เช็ดให้แห้ง
ตัดไหมที่เย็บชนิด interrupted method ใช้ tooth forceps จับปลายไหม ดึงขึ้น ให้สอดกรรไกรแนวราบแล้วตัด ดึงในลักษณะดึงเข้าหาแผล
ตัดไหมที่เย็บชนิด interrupted mattress ตัดส่วนที่มองเห็นให้มากที่สุด แล้วทำวิธีเดียวกับ interrupted method
ตัดไหมที่เย็บชนิด continuous method ตัดส่วนที่ชิดผิวด้านตรงข้ามกับปกผูก ดึงออก ทำไปจนอันสุดท้าย
วิธีทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง
เปิดแผลโดยใช้มือที่สวมถุงมือแล้ว เปิดชุดทำแผล
หยิบ non-tooth forceps ใช้คีบส่งของ หยิบ tooth forceps ใช้รับของ
หยิบสำลีชุบ 0.9 NSS เช็ดบนลงล่างจนแผลสะอาด เช็ดด้วยสำลีแห้ง
ทาแผลด้วย antiseptic solution ปิดแผลด้วย gauze ตามแนวขวางของแผล ไล่ขึ้น-ลง หัวท้ายปิดทับกับผิวหนังให้สนิท
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
วิธีทำแผลผ่าตัดแบบเปียก
เปิดแผลโดยใช้มือที่สวมถุงมือแล้ว เปิดชุดทำแผล
ทำความสะอาดริบขอบแผลแบบเดียวกับ Dry dressing
ใช้สำลีชุดน้ำเกลือ หรือน้ำยาตามแผนการรักษา เช็ดจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยาใส่ในแผล เพื่อฆ่าเชื้อ และซับสารคัดหลั่ง
ปิดแผลด้วยผ้า gauze ปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
วิธีทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย
เตรียมเครื่องใช้แบบเดียวกับกาารทำแผลแบบแห้ง
เช็ดผิวหนังรอบท่อระบายวนในออกนอก แล้วทิ้งในชามรูปไต ระวังไม่ให้ข้ามชุดทำแผล
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือเช็ดตรงกลางท่อ แล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
ใช้สำลีชุบ alcohol 70% เช็ดท่อระบายเหนือแผลมาส่วนปลาย
กรณี Penrose drain แพทย์ให้ตัดท่อยางสั้น หยิบ gauze 1 ผืน ใช้ forceps บีบเข็มกลัดให้อ้าออก
ใช้มืออีกข้างถือ forceps จับท่อระบายดึงออกมา 1 นิ้ว แทงเข็มกลัดเข้ากับท่อระบาย กลัดเข็มกลัดเข้าที่
ตัดท่อเหนือเข็มกลัด ทิ้งในชามรูปไต ใช้สำลีเช็ดผิวหนังรอบๆ และท่ออีกครั้ง
พับครึ่งผ้า gauze วางสองข้างท่อระบายแล้ววางผ้า gauze ปิดท่อระบายอีกชั้น และปิดพลาสเตอร์
วิธีพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม ไม่เคืองผิวหนัง
ชนิดม้วน ชนิดยืด และไม่ยืด
ชนิดพิเศษ พยุงอวัยวะในท้องหลังผ่าตัด
หลักการ
ตำแหน่งที่จะพันต้องสะอาด และแห้ง
ลงน้ำหนักมือให้เหมาะสม ไม่แน่นเกินไป
พันตำแหน่งที่บาดเจ็บ
พันใกล้ข้อ คำนึงถึงการขยับข้อ
วิธีพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
พับเป็นสามเหลี่ยมที่มียอดเป็นมุมฉาก ขนาดผ้าขึ้นอยู่กับขนาดตัวผู้ป่วย
ชนิดม้วน
พันแบบวงกลม เหมาะกับอวัยวะทรงกระบอก
พันแบบเกลียว เหมาะกับอวัยวะทรงกระบอก
พันแบบเกลียวพับกลับ เหมาะกับอวัยวะทรงกระบอก เมื่อต้องการความอบอุ่น หรือแรงกด
พันเป็นเลข 8 เหมาะกับบริเวณข้อพับ
พันแบบกลับไปกลับมา เหมาะกับการพันเพื่อยึดแผลที่ศีรษะ หรือถูกตัดแขน ขา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะเวลาและการป้องกัน
ปัจจัยส่งเสริม
ภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
การผ่าตัด
ภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
ระยะของแผล
ระยะที่ 1
ผิวหนังแดง ไม่มีการฉีกขาดของผิวหนัง ไม่จางภายใน 30 นาที
ระยะที่ 2
ผิวหนังแดง เริ่มมีแผลเล็กๆ หนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น
ระยะที่ 3
แผลลึกถึงชั้นไขมัน แต่ไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ แผลลึก เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
ระยะที่ 4
แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก เยื่อหุ้มข้อ มีเนื้อตาย
การป้องกัน
ประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงแผลกดทับ
เฝ้าระวังความเสี่ยง และประเมินซ้ำ
ลดปัจจัยต่อการเกิด และเพิ่มปัจจัยการหาย
บริเวณที่เกิดได้ง่าย
ท่านอนคว่ำ
ใบหูและแก้ม หน้าอกและใต้ราวนม หน้าท้อง หัวไหล่ ส้นกระดูกสะโพก หัวเข่า ปลายเท้า
ท่านอนหงาย
ท้ายทอย ใบหู หลังส่วนบน ก้นกบ ข้อศอก ส้นเท้า
ท่านอนตะแคง
ศีรษะด้านข้าง หัวไหล่ กระดูกก้น ปุ่มกระดูก ต้นขา ฝีเย็บ หัวเข่าด้านหน้า ตาตุ่ม
ท่านั่ง
ก้นกบ ปุ่มกระดูกก้น หัวเข่าด้านหลัง กระดูกสะบัก เท้า ข้อเท้าด้านนอก
กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินสภาพร่างกาย และจิตใจ ความรุนแรงของโรค
ประเมินระดับความเจ็บปวด
ประเมินความกังวล
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงติดเชื้อจากประเภทผ่าตัดปนเปื้อน
การปฏิบัติ
ด้านร่างกาย
ประเมินแผล ช่วยทำความสะอาด ติดตามอาการ
ด้านจิตใจ
ประยุกต์ใช้หลักพยาบาลส่งต่อจิตใจอย่างเป็นรูปธรรม
ด้านสังคม
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยคนอื่นๆ
ด้านจิตวิญญาณ
อ่านหนังสือธรรมะ สวดมนต์
ประเมินผล
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ
ประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินความสามารถผู้ป่วย
ประเมินความเสี่ยง
ประเมินผิวหนังและความสะอาด
ประเมินภาวะโภชนาการ
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อแผลกดทับบริเวณ.....
เสี่ยงต่อแผลกดทับ เนื่องจาก....
การวางแผน
วางแผนการพยาบาลให้ตรงกับผู้ป่วย
การปฏิบัติ
จัดท่าทาง
ใช้อุปกรณ์กดแรงกด
จัดโปรแกรมให้ความรู้
ประเมินผล
สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยและเกณฑ์การประเมิน