Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
แผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน
แผลที่เกิดจากถูกยิง
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิมแทง
แผลที่เกิดจากการกดทับ
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง
แผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม
แผลแบ่งตามลําดับความสะอาด
Clean Wound ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอาดถึงปนเปื้อน
Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
แผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง
แผลเนื่อตาย
แผลที่เกิดเฉียบพลัน
แผลแบ่งตามการรักษา
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
แผลท่อระบาย
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลทวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
แรงกด
ภาวะแวดล้อมแห้ง
การได้รับอันตรายและอาการบวม
ความไม่สุขสบาย
ภาวะเนื้อตาย
การติดเชื้อ
ปัจจัยระบบ
นําในร่างกาย
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง
โรคเรื้อรัง
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ
เป็นแผลประเภทที่ ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ
ป็นแผลขนาด ใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทําลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน
การหายของแผลแบบตติยภูมิ
เป็นแผลชนิดเดียวกับ แผลทุติยภูมิ เมื่อทําการรักษาโดยการทําแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด และไม่มีอาการ การแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว ศัลยแพทย์จะพิจารณาปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft)
กระบวนการหายของแผล
ห้ามเลือดและอักเสบ
การห้ามเลือด (hemostasis) จะเกิดขึ้นก่อน ในเวลา 5-10 นาที
การสร้างเนื้อเยื่อ
เป็นระยะการสร้างเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
การเสริมความแข็งแรง
เป็นระยะสุดท้ายของการสร้าง และความสมบูรณ์ของคอลลาเจน ซึ่งfbroblast จะเปลี่ยนเป็น myofbroblast
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ตําแหน่ง/บริเวณ
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี
ลักษณะผิวหนัง
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง
วัตถุประสงค์ของการเย็บแผล
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
ห้ามเลือด
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
เส้นใยสังเคราะห์ เช่น nylon
เส้นใยตามธรรมชาติ
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
วิธีการทําแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
การทําแผล มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
จํากัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง
ให้ความชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอ
ดูดซึมสารคัดหลั่ง เช่น เลือด น้ําเหลือง หนอง
ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ
ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน
ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อโรคจากอุจจาระปัสสาวะสิ่งสกปรกอื่น ๆ
เป็นการห้ามเลือด
ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย \
ชนิดของการทําแผล
การทําแผลแบบแห้ง
การทําแผลที่ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้น ในการหายของแผล ใช้ทําแผลสะอาด แผลปิด แผลที่ไม่อักเสบเป็นแผลเล็กไม่มีสารคัดหลั่งมาก
การทําแผลแบบเปียก
การทําแผลที่ต้องใช้ความ ชุ่มชื้นในการหายของแผล ใช้ทําแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ แผลที่มีสารคัดหลั่งมาก
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อ
ใช้เป็นแรงกดป้องกันเลือดไหล
ช่วยพยุงผ้าปิดแผลให้อยู่กับที่
ให้ความอบอุ่นบริเวณนั้น ๆ
ช่วยให้อวัยวะอยู่คงที่ และพยุงอวัยวะไว้
รักษารูปร่างของอวัยวะให้พร้อมที่จะใส่อวัยวะเทียม
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
ผ้าสามเหลี่ยม
ปัจจัยที่ทําให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับ
อายุ
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
แรงกด
ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทําลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น
มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ และเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับที่ 4 แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน (subcutaneous) แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ (muscle)
มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ําเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล