Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ - Coggle Diagram
บทที่ 4การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เลือด
เซลล์เม็ดเลือดขาว มีบทบาทในการ ฆ่า/ท าลายจุลชีพก่อโรค
เซลล์เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดที่มีสีแดงเนื้อเม็ดเลือดสร้างด้วย โปรตีน รูปร่างเป็นจารนกลมเว้าตรงกลางเข้า ทั้งสองหน้า เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7.5 ไมครอน
พลาสมา ประกอบด้วย น้ า 90% และ 10% เป็น โปรตีนภูมิต้านทานเพื่อท าลาย จุลชีพก่อโรค
ค่ำวิกฤต
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มีความแตกต่างจากช่วงค่าปกติมาก หรือผลการตรวจที่ผิดปกติ ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่อาจก่อเกิดอันตรายกับตัวผู้ป่วย ถ้าไม่ได้รับการรักษาโดยเร็ว จำเป็นจะต้องรายงานแพทย์โดยด่วน
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด(CBC)
ปัจจัยที่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่ก าลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดด าอาจท าให้ค่า คลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวัง อาการ 2. ประเมินประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการติดเชื้อ อาจมี ผลท าให้ RBC ลดลง 3. ประเมินเกี่ยวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
การตรวจหาจำนวนเม็ดเลือดขาว (WBC)
ปัจจัยที่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การออกก าลังกายที่หนักหน่วง มี ภาวะเครียดอาจท าให้WBC เพิ่มขึ้น ชั่วคราว 2. ยากลุ่ม Bone marrow depressant อาจลดจ านวน WBC ได้
การพยาบาล
คอยสังเกตและบันทึกอาการการติดเชื้อ 2. ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้เกิดเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ(Leukopenia) จากการติดเชื้อ จนกว่าร่างกายจะไม่มีปัญหาติดเชื้อ 3. ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ท าให้เพิ่มหรือลด จ านวน WBC ได้
การตรวจหาจำนวนเม็ดเลือดเเดง (RBC)
ปัจจัยที่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่ก าลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดด าอาจท าให้ค่า คลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ถ้าลดลงหมายถึงโลหิตจาง ควรประเมินอาการ ประวัติการ รับประทานอาหาร ตรวจร่างกายและอาการทางคลินิกของโลหิต จาง 2. ประเมินเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือติดเชื้อที่ท าให้ RBC ลดลง 3. ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการ เฉียบพลัน เพราะอาจท าให้ค่าลดลง 4. สอนและแนะน าผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและผลกระทบของ การเปลี่ยนจ านวนและขนาดของ RBC และความผิดปกติ
วิเคราะห์ผล RBC
เป็นการติดตามผลวิเคราะห์ภาวะโลหิตจาง ภาวะขาดสารอาหาร และความผิดปกติของโรค การท างาน ของอวัยวะในร่างกาย เช่น ระบบการสร้างเม็ดเลือด การใช้ยาที่เกี่ยวข้องกับเม็ดเลือดแดง
Erythrocyte Indices ดัชนี เม็ดเลือดแดง
Mean Corpuscular Hemoglobin(MCH) ปริมาณเฉลี่ยของ ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
Red cell distribution width (RDW) ความ กว้างของการกระจาย ขนาดเม็ดเลือดแดง แสดงถึงความ แตกต่างของขนาด เซลล์เม็ดเลือดแดง
Mean Corpuscular Volume (MCV) ปริมาตรของเม็ดเลือดแดง โดยเฉลี่ย
Mean Corpuscular Hemoglobin Concentration (MCHC)ความ เข้มข้นเฉลี่ยของฮีโมโกลบินในเม็ด เลือดแดง
การตรวจเกี่ยวกับอิเลคโตรไลท์
เพื่อตรวจหาระดับเกลือแร่(อิเลคโตรไลท์) ในร่างกายโดยการตรวจ ค่าอิเล็กโทรไต์ ( Electrolyte ) เพื่อจะทราบว่า สารละลายสื่อน าไฟฟ้า Electrolyte ชนิด ต่างๆ ของแร่ธาตุ ( Mineral )
โพแทสเซียม
ประเมินติดตามผลโพแทสเซียมในผู้ป่วยที่ได้รับ สารประกอบที่มีโพแทสเซียมสูง ผู้ที่ได้รับยา Heparin กลุโคส NSAIDs และยาปฏิชีวนะที่มีส่วนประกอบของโพแทสเซียม natural licorice, คอร์ติโคสเตียรอยด์
Chroride Cl-
ประเมินและติดตามค่าคลอไรด์ส าหรับผู้ที่ได้รับยา ละลายลิ่มเลือด เช่น Coumadin, แอสไพลิน, NSAIDs คลอติโคสเตรียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ
ค่าวิกฤติ CI : < 80 หรือ > 115 mEq / L
การตรวจการท างานของไต
การตรวจการท างานของไต (ภาษาอังกฤษ : Renal function test) คือ การตรวจดู สมรรถภาพการท างานของไตได้จากการตรวจเลือดและการตรวจปัสสาวะ* ซึ่งโดยหลัก ๆ แล้วจะประกอบไปด้วยการตรวจ BUN, Creatinine และ eGFR
Blood Urea Nitrogen(BUN)
ค่ำปกติทั่วไปของ BUN ในผู้ใหญ่ คือ 10 - 20 mg/dL ค่ำปกติทั่วไปของ BUN ในเด็ก คือ 5-18 mg/dL
ค่าปกติของการตรวจเกี่ยวกับการท างาน ของตับ ตับอ่อน
ค่ำ Amylase, Lipase ต่ ำกว่ำปกติค่ำ Amylase, Lipase สูงกว่ำปกติ
ประเมินและเฝ้าติดตามอาการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาวะบวม ภาวะขาดสารอาหาร อาการสับสน 2. ติดตามผล Lab อย่างใกล้ชิด
การตรวจปัสสาวะและอุจจาระ