Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ติวสภา ชุมชนและรักษาเบื้องต้น ความหมาย แนวคิดของนวัตกรรมสาธารณสุข -…
ติวสภา ชุมชนและรักษาเบื้องต้น
ความหมาย แนวคิดของนวัตกรรมสาธารณสุข
ความหมาย
พลตรีพระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์
การซ่อมแซมหรือการซ่อมใหม่
“นวต” (ความใหม่) + “กรรม”(การกระทำ) ---->เดิม
พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
สิ่งที่ทำขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิม อาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ์
อมร นนทสุต (2550)
นวัตกรรม (Innocation) คือการสร้างหรือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ให้ตอบสนองวัตถุประสงค์มากขึ้น
หทัยชนก บัวเจริญ และคณะ (2553)
นวัตกรรม หมายถึง การสร้าง พัฒนาและสรุปความรู้วิธีการบนฐานของความรู้ให้เกิดสิ่งใหม่หรือปรับปรุงที่เดิมให้แตกต่างเพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ประเภทของนวัตกรรม
นวัตกรรมผลผลิต (Product innovation)
ยาเวชภัณฑ์ เทคโนโลยีต่างๆ สิ่งประดิษฐ์หรือความรู้ใหม่ที่ทำมาใช้การตรวจรักษาหรือควบคุมโรค
นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation)
เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวางแผน การบริหารจัดการ ให้ดำเนินบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น ความจำเป็นพื้นฐาน จปฐ การบริหารเชิงผลลัพธ์ แผนที่ยุทธศาสตร์ เป็นต้น
นวัตกรรมการบริการ (Service model innovation)
การพัฒนาระบบการให้บริการในคลินิกแบบ One stop service การสร้างเครือข่ายการบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เช่นการกดจุดลดความปวดขในห้องคลอด
ลักษณะ “นวัตกรรมการพยาบาล”
การให้บริการแบบใหม่ มีการคิดค้นวิธีการให้บริการใหม่ สิ่งใหม่ที่ใช้การได้ ใช้งานได้จริง คุ้มค่า คุ้มทุนก่อให้เกิดการเรียนรู้ และมีผลลัพธ์ที่ดี
เป็นบริการที่นำวิธีการจัดการระบบมาใช้ในการประเมิน กระบวนการและผลลัพธ์ก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง
บริการที่ใช้การประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยในการให้บริการ
บริการที่แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ในการให้บริการ
บริการเดิมหรืออุปกรณ์เดิมที่มีอยู่แล้วนำมาปรับเปลี่ยน ปรับปรุง ดัดแปลง ต่อยอดจากของเดิม
ความสำคัญและความจำเป็นในการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล
เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการพยาบาล
เพื่อสร้างความรู้ใหม่ในการให้บริการพยาบาล
เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือลดการใช้เทคโนโลยขึ้นสูง เพื่อแก้ปัญหางบประมาณ กำลังคน ภาระงาน การบริหารจัดการ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
เพื่อประสานความร่วมมือกับหุ้น ส่วนด้านสุขภาพ ในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ
เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจและการมีคุณค่าของพยาบาลในการให้บริการ
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการพยาบาลอนามัยชุมชน
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ขอการพัฒนานวัตกรรมให้ชัดเจน เช่น กลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
คิดค้นแนวทางการพัฒนานวัตกรรม
การค้นหาและรวบรวมข้อมูลสุขภาพชุมชน - เพื่อกำหนดแนาวทางการจัดการภาวะสุขภาพ
การจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อถ่ายทอดข้อมูล
การค้นหาทุนทางสังคม และจัดกระบวนกรมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมอำนาจและความมีส่วนร่วมภาคประชาชนและชุมชน
สร้างข้อตกลงร่วมในการพัฒนานวัตกรรมกับผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ ร่วมกันกำหนดแนวทางและกลไกการ จัดการปัญหาสุขภาพของชุมชน
พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสุขภาพ
ในการประสานงาน
การสร้างเครือข่าย
การทำงานสุขภาพแบบหุ้นส่วน
การเปิดโอกาสให้ประชาชนและภาคส่วนอื่นๆ ได้มีส่วนร่วมในการคิดค้นและพัฒนานวัตกรรม ฯลฯ
ปรัชญา 4
ประการ
ความเสมอภาค เช่น
• โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
• การสร้างระบบส่งต่อในโครงการประกันสุขภาพ (การเข้าถึงบริการสำหรับทุกคน)
• การจับคู่ปัญหากับผู้แก้ให้พอเหมาะกัน (การสร้างอาสาสมัคร หรือ อสม.)
2.คนเป็นศูนย์กลาวของการพัฒนา เช่น
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะต่างๆ
โครงการสาธารณสุขมูลฐาน
การวร้างเครือข่าย สร้างความเป็นผู้นำ สร้างวิสัยทัศน์
การสรา้งจิดสำนึก ศรัทธา สร้างความสุขความพอใจจากการทำงาน
การสร้างมาตรฐาน แนวปฏิบัติต่างๆ สำหรับบุคคล ชุมชน
3.การพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น
การรณรงค์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมบวกหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การส่งเสริมการใช้ชีวิตที่ดี
การพัฒนาบทบาทรวมทั้งระบบการเงินขององค์กรท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐ
การส่งเสริมการมีส่วนร่วม
4.ประสิทธิผลคุ้มค่า
การใช้ทรัพยากรมนุษย์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม (งานสาธารณสุขมูลฐาน)
นโยบายการนำภาษีอากรบางประเภทมาใช้กับงานสร้างสุขภาพ (กองทุน สสส.)
การใช้กระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
การใช้หลักบูรณาการ
นวัตกรรมหรือกลวิธีสาธารณสุข
การสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care)
เป็นกลวิธีทางสาธารณสุขที่เพิ่มจากรับบบริการสาธารณสุขที่มีอยู่เดิม ให้ความสำคัญในการดำเนินงานสาธารณสุขระดับตำบลและหมู่บ้าน ทั้งด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื่นฟูสภาพ
วิวัฒนาการของสาธารณสุขมูลฐาน
รูป
แนวคิดของสาธารณสุขมูลฐาน
1.เป็นระบบการสาธารณสุขเพิ่มเติมและเสริมจากระบบของรัฐที่ดำเนินในระดับตำบล หมู่บ้าน
2.การสาธารณสุขมูลฐานเป็นการพัฒนาชุมชนให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง
3.การสาธารณสุขมูลฐานจะเกิดขึ้นได้ต้องให้ชุมชนรับรู้และทราบว่าปัญหาของชุมชน
4.หน้าที่และบทบาทของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องเข้าใจว่าไม่ได้ทำงานแทนเขา เขาไม่ได้ทำงานให้เรา แต่เราทำงานร่วมกัน
5.ความร่วมมือของชุมชนเป็นหัวใจ ของการสาธารณสุขมูลฐาน โดยร่วมืออาจเป็นในรูปของแรงงาน แรงเงิน แรงความคิด
6.สุขภาพอนามัยที่ดีความสัมพัธ์กับความเป็นอยู่และการดำเนินชีวิต ดังนั้นงานบริการสาธารณสุขต้องผสมผสานกับงานพัฒนาด้านอื่นๆ
7.งานสาธารณสุขมูลฐานต้องใช้เทคนิคและวิธีการง่ายๆไม่เกิดขอบเขตและกำลังของชุมชน ใช้เทคนิคที่ดี ประหยัด ยืดหยุ่นได้และมีผลต้อการแก้ไขปัญหา
8.งานสาธารณสุขมูลฐานจะต้องสอดคล้องและอาศัยประโยชน์จากสถาบันหรือระบบชีวิตประจำวันของชุมชน
9.งานสาธารณสุขมูลฐานควรมีความยิดหยุ่นในการจะนำมาใช้แก้ไขปัญหาตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมและปัญหาที่ประสบโดยไม่จำเป็นต้องเหมือนกันทุกหมู่บ้าน
10.งานสาธารณสุขมูลฐานประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ
รูป
11.งานสาธารณสุขมูลฐานต้องเชื่อมโยงกับงานบริการสาธารณสุขของรัฐในด้านการสนับสนุน การส่งต่อผู้ป่วย กสนศึกษาต่อเนื่อง
กลวิธีหลักในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน (Strategic PHC)
1.การมีส่วนร่วมของชุมชน (People Participation / P.P., Community Involvement / C.I.)
2.การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology / AT)
3.การปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐเพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Reoriented Basic Health
Services / BHS)
3.1 การกระจายบริการให้ทั่วถึงครอบคลุม Coverage
3.2 การกระจายทรัพยากรสู่มวลชน (Resource Mobilization
การจัดระบบส่งต่อผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพ Referral System
4.การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่นๆ (Intersectoral Collaboration / IC
บทบาทพยาบาทและ อสม.
พยาบาล
1.เน้นการปฏิบัติพยาบาลเพื่อส่งเสริม ป้องกันโรค และรักษาสุขภาพเบื้องต้น
2.ให้บริการสุขภาพอนามัยต่อบุคคลทุกกลุ่ม และทุกสถานที่
3.มีสำนึกอยู่เสมอว่าตนเองมรหน้าที่ยื่นมือเข้าไปช่วยบุคคลหรือกลุ่มคนที่เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพในชุมชนจึงจะเป็นการให้บริการพยาบาลอย่างสมบูรณ์
4.มีส่วนช่วยในการกำหนดนโยบายทั้งระดับรัฐและท้องถิ่น เพื่อหาทางให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพอนามัย
5.การฝึกหรือสอนสมาชิกในทีมสุขภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณสุขมูลฐานโดนเฉาะ อสม.
6.พัฒนาระบบการส่งต่อหรือระบบกำลังคนด้านสุขภาพอนามัย และประสานงานกับเจ้าหน้าที่สุขภาพอื่นๆ
7.มีความรู้ในงานบริการ การนิเทศ การวิจัย การสอน อันเป็นประโยชน์ต่อการจัดบริการเพื่อสุขภาพของประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อสม.
นโยบายว่า “ประชาชนทุกคนในโลกจะต้องมีสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543”
อสม. เฉลี่ยประาณ 10-20คนต่อหมู่บ้าน
อสม.เป็นบุคคลที่ได้คัดเลือกจากชาวบ้านในแต่ละหมู่บ้าน และได้รับการอารมตามหลักสูตรของที่นสาธารณสุขกำหนด
อสม..
1.แจ้งข่าวสารนสาธารณสุข และแนะนำ เผยแพร่ความรู้ แก่ประชาชนในเขตที่รับผิดชอบ
2.ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่นสาธารณสุขกับประชาชน
3.ให้การช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชน
4.ติดตามการรักษาและจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมาตากสถานบริการนสาธารณสุข
5.ทำตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน เช่นการใ้ช้ส้วม การรักษาความสะอาดบ้านเรือนและบรรลุตมเกณฑ์ จปฐ.
6.ปฏิบัติงานนสาธารณสุขมูลฐาน 14 องค์ประกอบไดครอบคลุมทั้งด้านการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น และการฟื้นฟูภาพ
7.เป็นแกนกลางประสานงานในการดำเนินงานนสาธารณสุขของหมู่บ้าน โดนกระตุ้นให้มีการจัดประชุมวางแผนและร่วมดำเนินงาน
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
1.กลุ่มโรคในระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะอาหาร (ขมิ้นชัน กล้วยน้ำว้า)
อาการท้องเสีย (ฝรั่ง ฟ้าทะลายโจร กล้วยน้ำว้า ทับทิม มังคุดด สีเสียดเหนือ) เป็นต้น
2.กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ
อาการไอและระคายคอจากเสมหะ (ขิง ดีปลี เพกา
มะขามป้อม มะขาม มะแว้งเครือ มะแว้งต้น)
3.กลุ่มโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการขัดเบา (กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ตะไคร้ สับปะรด หญ้าคา อ้อยแดง)
4.กลุ่มโรคผิวหนัง
กลาก เกลื้อน (กระเทียม ข่า ชุมเห็ดเทศ ทองพันชั่ง พลู) เริม งูสวัด (พญายอ) เป็นต้น
5.กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยอื่นๆ
เคล็ด ขัด ยอก (ไพล) นอนไม่หลับ(ขี้เหล็ก ) ไข้ (ฟ้าทะลายโจร บอระเพ็ด)
ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
รูป