Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อข้อ (3) - Coggle Diagram
บทที่ 3 การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อข้อ (3)
การซักประวัติ
อาการสำคัญที่นํามาโรงพยาบาล (Chief compliant)
ข้อมูลพื้นฐานของผู้รับบริการ (Basic information of clients)
ประวัติอาการสําคัญที่พบ (Problem-based history)
การตรวจขอเท้าและนิ้วเท้า
การดูและการคลํา ดูสีผิว อาการบวม และลักษณะรูปร่างความิดปกติที่พบบ่อยในเด็กทารก ได้แก่ เท่าปุก (Club foot) การบิดเข่าของฝ่าเท้า
การตรวจการเคลื่อนไหวของข้อเท้าและข้อนิ้วเท้า
ให้ผู้รับบริการพยายามกระดกเท้าขึ้นต้านแรงพยาบาลที่พยายามกดลง เป็นการทดสอบกําลังกล้ามเนื้อที่ทําหน้าที่Extension ของข้อเท้า
การตรวจข้อไหล่
ให้ผู้รับบริการกางแขนออก (Abduction) เกร็งแขนต้านแรงพยาบาลทพยายามกดลงให้แขนผูู้รับบริการลงแนบตัว
การตรวจร่างกาย
การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด (Range of motion)
การดู (Inspection)
การคลำ (Palpation) หรือ การวัด (Measurement)
การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Test of muscle strength)
การตรวจข้อตะโพก
การดู
ให้ดูการเดินและการยนของผู้รับบริการว่า ลักษณะการเดินมีการเคลื่อนไหวมากน้อยเพียงใด ให้เปรียบเทียบกับด้านตรงข้าม ในทานอนจะพบว่าขายาวไม่เทากัน (Apparent shortening)
การคลำ
ให้คลําบริเวณรอบ ๆ ข้อตะโพกและรอบ ๆ ทั้ง 2 ข้าง ได้แก่ Anterior superior Iliac spine คลําเพื่อหาว่ามีการบวม ร้อน กดเจ็บและมีเสียงกรอบแกรบหรือไม่
การตรวจความเคลื่อนไหวของตะโพก
ให้ผู้รับบริการเหยียดเข่าและ ยกสูงขึ้น
เท่าที่จะทําได้ (Flexion)
การตรวจพิเศษ
Tennis Elbow Test เป็นการตรวจเพื่อหาว่ามีการอักกเสบของCommon extensor epicondylitis (Tennis elbow) หรือไม่ (ดุษฎี ทัตตานนท,2542) ผู้ตรวจจับหลังมือและข้อศอกของผู้รับบริการแล้วให้ผู้รับบริการกํามือและกระดูกข้อมือในทำ Pronation จากนั้นใช้นิ้วกดบริเวณ Lateralepicondyle ถ้ามีการอักเสบจะมีอาการเจ็บอย่างมากตรงบริเวณที่กด
การตรวจกล้ามเนื้อข้อ
Temporo mandibular joint (TMJ)
1.1 ตรวจการเคลื่อนไหว
ความผิดปกต
เจ็บเวลาก้มหรือเอียงจากกล้ามเนื้อบริเวณคอตึง
การเคลื่อนไหวทำได้ไม่เต็มที่ร่วมกับมีอาการปวดร้าวไปยังหลัง
เจ็บบริเวณคอร่วมกับชาบริเวณขาอาจเกิดจากไขสันหลังถูกกดทบ
การตรวจนิ้วมือและข้อนิ้ว
การดูและการคลํา
ดูลักษณะการบวมแดง ตลอดจนการผิดรูปของข้อที่มีการเบี่ยงเบนไปของ Ulnar หรือ Radial มากเกนไป ิ (Ulnar or radial deviation) พบได้บ่อย ในผููรับบริการที่เป็น Rheumatoid Arthritis
ตรวจการเคลื่อนไหวของข้อมือและนิ้วมือ
เหยียดข้อมือตรง หักข้อมือลง (Flexion) เหยียดมือ (Extension) กระดกมือขึ้น(Hyperextension)
การตรวจข้อเข่า
การดู ดูผิวหนังว่ามกล้ามเนื้อลีบหรือไม่ สีผิวอาการบวม
เปรียบเทียบกันทั้ง 2 ข้าง
การคลำ คลําดูว่ามีบวมร้อนและกดเจ็บหรือไม่ มีน้ำในข้อหรือไม่ข้อเข่าปกติจะมีสารน้ำหล่อเลี้ยงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร
การตรวจการเคลื่อนไหวของข้อเข่า
ให้ผู้รับบริการงอ (Flexion )
และเหยียดเข่า (Extension)
การตรวจข้อศอก
งอข้อศอก (Flexion) เหยยดข้อศอก (Extension)
งอข้อศอก หงายฝ่ามือขึ้น
(Supination)
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อของข้อศอก
พยาบาลประคองแขนส่วนต้นแล้ว ให้ผููรับบริการงอข้อศอก ดันปลายแขนออกมา (Extension) ต้านกับแรงพยาบาลเป็นการตรวจหาความแข็งแรงของTriceps muscle