Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 (part 4)การประเมินการตรวจร่างกาย การตรวจช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์,…
บทที่3 (part 4)การประเมินการตรวจร่างกาย การตรวจช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์
การตรวจท้องAbdomen
การแบ่งท้องออกเป็น 9 ส่วน เกิดจากการลากเส้นสมมติ 4 เส้น
เส้นขวางล่าตัว ที่ลากผ่านส่วนต่่าที่สุดของชายโครงด้านหน้า
เส้นขวางล่าตัวที่ลากผ่านของของ iliac crest
เส้นดิ่งที่ลากต่อเนื่องมาจาก mid clavicular line ซ้ายจนถึงขาหนีบ
เส้นดิ่งที่ลากต่อเนื่องมาจาก mid clavicular line ขวาจนถึงขาหนีบ
Hypochondrium ขวา
Epigastriue.
Hypochondrium ซ้าย
Lumbar region ขวา
Umbilical area
Lumbar region ซ้าย
Inguinal region ขวา
Hypogastrium หรือ Suprapubic region
Inguinal region ซ้าย
แบ่งหน้าท้อง ออกเป็นส่วนต่างๆ ใชการแบ่งหน้าท้องออกเป็น 4 ส่วน 1.Right lower quadrant (RLQ) คือ ส่วนลางขวา 2. Right upper quadrant (RUQ) คือ ส่วนบนขวา 3. Left lower quadrant (LLQ) คือ ส่วนล่างซ้าย 4.Left upper quadrant (RUQ) คือ ส่วนบนซ้าย
3.2 การเคาะตับ
การเคาะเพื่อหาขอบเขตบนของตับ ให้เคาะที่ทรวงอกด้านขวาจากบนลงล่าง ในแนว mid clavicular line วางมือซ้ายให้นิ้วมือขนานกับช่องซี่โครง และ เริ่มเคาะที่ช่องซี่โครงที่ 2 ลงมาเรื่อย ๆ ปกติจะเริ่มได้
(relative liver dullness) ที่ช่องซี่โครงที่ 4 และจะทึบชัดเจน (absolute liver dullness) ที่ช่องซี่โครงที่ 6
ภาวะปกติ เคาะได้เสียงทึบของตับตามแนว mid clavicular line ระหว่าง
ช่องี่โครงที่ 6 ถึงใต้ชายโครงประมาณ 1 นิ้ว หรือกว้างประมาณ 10-12
ภาวะผิดปกติ เคาะได้บริเวณตับเล็กกว่าปกติ ซึ่งอาจพบในภาวะถุงลมปอดโป่งพองมากมีก๊าซใต กระบังลมมาก เคาะได้บริเวณตับโตกว่าปกติ พบในผู้ที่มีพยาธิสภาพของตับ
3.3 การเคาะม้าม
ภาวะปกติ พบเสียงทึบของม้าม (Splenic dullness) ได้ที่ช่องซี่โครงที่ 9-10หรือ mid axillary line ส่วนช่องซี่โครงที่ 11 จะโปร่ง
ภาวะผิดปกติ พบเสียงทึบของม้ามมากกว่าปกติ เช่น ทึบในแนว anterioraxillary line ซ้าย จนถึงช่องซี่โครงที่ต่่าสุดในช่วงหายใจเข้า อาจถือว่ามีม้ามโต หรือการตรวจ splenic percussion ได้ผลบวก
3.4 การเคาะไต
ภาวะปกติ จะไม่มีอาการเจ็บเมื่อเคาะถูก
ภาวะผิดปกติ คือ มีอาการเจ็บหรือปวด
เทคนิคการตรวจช่องท้อง
การดู
ดูรูปร่างลักษณะท้องว่าปกติ สมมาตรกัน หรือไม่หรือท้องโตหรือท้องแฟบโดยอาจมองจากด้านปลายเท้าของผู้รับบริการ
ดูผิวหนังหน้าท้อง สีผิว รอยแผลผ่าตัด รอยจ้่าเลือดและหลอดเลือดด่าที่ผนังท้องว่าโป่งพองหรือไม่
ผนังหน้าท้องเคลื่อนไหวเป็นปกติตามการหายใจหรือไม่ หรือมีการเต้นที่ผิดปกติ มีการเคลื่อนที่ผิดปกต
ลักษณะสะดือ
สังเกตบริเวณขาหนีบทั้งสองข้าง
ภาวะปกติ
ท้องจะสมมาตรกันท้องอาจโตได้กรณีอ้วนมากหรือตั้งครรภ์ และอาจแฟบในรายที่ผอม
อาจพบแผลเป็นและลายที่ผนังหน้าท้องในผู้ที่เคยผ่าตัดและเคยตั้งครรภ์
ไม่พบหลอดเลือดด่าขยายหรือโป่งพอง ไม่มีรอยเลือดใดๆ
ท้องจะเคลื่อนไหวโดยยุบลงเวลาหายใจเข้าป่องออกเวลาหายใจออก
ลักษณะสะดือและบริเวณขาหนีบปกติ
ในคนผอมอาจเห็นการเต้นของหลอดเลือดแดงใหญ่บริเวณลิ้นปีได
ภาวะผิดปกติจากการการตรวจท้อง
ในขณะที่ท้องโตจากการมีก้อนในท้องและมีน้่าจะรู้สึกอึดอัด
เมื่อพบท้องโตหรือมีก้อนต้องสังเกตว่าอยู่ต่าแหน่งใด ขนาดเท่าใด เคลื่อนที่ได้หรือไม่ แข็งหรือนุ่ม ถ้าท้องโตมากอาจวัดรอบท้องตรงต่าแหน่งสะดือ และบันทึกไว้
ท้องแฟบกว่าปกติมากเรียก Scaphoid abdomen อาจพบในผู้ที่ขาดสารอาหาร
หน้าท้องมีแผลอักเสบติดเชื้อหรือแผลไม่ติด
มีการขยายของหลอดเลือดด่าชัดเจน เช่น มีหลอดเลือดด่ารอบๆชัดเจนรอบสะดือ และมีทิศทางไหลออกจากสะดือ(carput medusae แสดงถึงการอุดตันของ portal vein)หรือมีหลอดเลือดด่าขยายบริเวณเอวและมีทิศทางการไหลขึ้นข้างบน (แสดงถึงการอุดตันของ inferior vena cava)
ผนังหน้าท้องไม่เคลื่อนไหวตามการหายใจหรือมีการเคลื่อนไหว แบบ Peristalsis wave ที่เห็นได้จากผนังหน้าท้อง
อาจพบสะดือถูกดึงหรือดันที่ ผิดปกติ หรือสะดือจุ่นจากการมีสารน้่าในช่องท้อง
บริเวณขาหนีบมีก้อนนูน ซึ่งอาจเป็น hernia
การฟัง
ส่วนอก (Chest piece) มีอยู่ 2 ด้าน คือ ด้านที่เป็นตลับ ซึ่งมี ลักษณะแบนเรียบ (diaphragm) ใช้ฟังเสียงที่มีความถี่สูง และด้านที่เป็นกรวยหรือระฆัง (bell) ฟังเสียงที่มีความถี่ต่่า
ส่วนหูฟัง (earpieces) ส่วนหูฟังมี 2 ขา ใช้ส่าหรับฟัง ซึ่งขนาดหูฟังควรมีขนาดพอเหมาะ ไม่กดรัดท่าให้เจ็บเวลาที่สวมฟัง
ท่อสายยาง (Rubber or Plastic tubing) ท่อสายยางจะเชื่อมต่อระหว่างหูฟังกับส่วนอก ซึ่งความยาวสายประมาณ 30.5 – 40เซนติเมตร (12-18 นิ้ว) หากสายยางมีความยาวมากเกินไป จะท่าให้ไม่ได้ยิน
หรือท่าให้เสียงเบากว่าปกติ
Bell ใช้เพื่อตรวจสอบเสียงต่่า เช่น เสียงหัวใจที่ผิดปกติ และเสียง bruit กดเบาๆ ให้หูฟังแนบบนส่วนของร่างกายที่ต้องการฟังมากที่สุดโดยกดเบาๆ เพื่อกรองอาเสียงสูงออกไป ท่าให้เสียงต่่าชัดเจนขึ้น แต่ถ้ากดแรงจะได้ยินเหมือนการฟังเสียงด้าน Diaphragm คือ ฟังเสียงสูงชัดเจนกว่า
Diaphragm ใช้เพื่อตรวจสอบเสียงสูง เช่น เสียงหายใจ เสียงหัวใจปกติและเสียงล่าไส้ โดยการกดหูฟังลงบนส่วนของร่างกายที่ต้องการฟังให้แนบแน่น ไม่ให้ข้างใดเผยอ เพราะจะท่าให้ได้ยินเสียงผิดปกติ การวางจะไม่กดแรงง ถ้ากดแรง ผิได้ยินเสียงต่่าวหนังของผู้ป่วยส่วนที่ถูกกด จะท่าหน้าที่คล้ายหูฟังด้าน Bell ส่งผลให้ได้ยินเสียงต่่า
การฟัง ใช้ chest piece ด้าน Diaphragm วางบนหน้าท้องบริเวณ umbilical area เพื่อฟังเสียงที่เกิดจากการบีบตัวของล่าไส้ ซึ่งเรียกว่า bowel sound สังเกตลักษณะเสียงและนับจ่านวนครั้งต่อนาที การที่จะสรุปว่าไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของล่าไส้ ควรใช้เวลาฟังอย่างน้อย 3 นาที ก่อนที่จะบอกว่าไม่ได้ยินเสียง
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวเป็นจะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวเป็นเสียง กร๊อก กร๊อก คล้ายเทน้่าออกจากขวด ได้ยินทุก 2-10 วินาทีเสียงดังพอสมควร
• ภาวะผิดปกติ เสียงการเคลื่อนไหวหรือการบีบตัวของล่าไส้จะดังและบ่อยมากขึ้น ซึ่งพบในรายที่มีการอักเสบอุดตัน เสียงกรุ้งกริ้ง (tinkling sound) ซึ่งเป็นเสียงน้่าปนกับอากาศในล่าไส้เกิดจาการขยายของล่าไส้ (dilatation) มักได้ยินพร้อมกับเวลาที่ผู้รับบริการมีการปวดท้อง
3.เคาะ
การเคาะ จะช่วยบ่งบอกลักษณะอวัยวะที่อยู่ในช่องท้อง และเป็นการช่วย ตรวจสอบว่าท้องโตที่เห็นได้จากการดูนั้นเกิดจากมีอากาศ สารน้่า หรือก้อนในช่องท้อง
ภาวะปกติ จะได้เสียงโปร่ง หรือ tympany ภาวะผิดปกติ ได้เสียง hypertympany ในกรณีมีอากาศมาก ถ้าหากมีสารน้่าหรือก้อน เคาะเสียงโปร่งน้อยลง (hypotvmpany) หรือทึบ (dull) (การแยกว่าเป็นสารน่าหรือก้อน ใช้การตรวจหาสารน้่าในช่องท้อง)
การตรวจ fluid thrill หรือ การกระเพื่อมของน้่าในช่องท้อ'การตรวจท่าโดยให้ผู้รับบริการนอนหงาย
ผู้ตรวจใช้ฝ่ามือข้างหนึ่งวางทาบข้างท้องผู้รับบริการ อีกมือเคาะที่ข้างท้องด้านตรงข้ามโดยอาจขอให้ผู้รับบริการวางสันมือบริเวณกลางตัวและกดด้วยแรงเล็กน้อย
ก่อนผูตรวจจะเคาะ สังเกตความรู้สึกสั่นสะเทือนของสารน้่าที่มากระทบ มือที่แนบกับข้างท้องนั้น
ถ้าสั่นสะเทือน เรียกว่า การตรวจให้ผลบวก