Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ, ดาวน์โหลด (32),…
บทที่4การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการ
และการตรวจพิเศษ
การตรวจเกี่ยวกับอิเลคโตรไลท์
เพื่อตรวจหาระดับเกลือแร่(อิเลคโตรไลท์) ในร่างกายโดยการตรวจค่าอิเล็กโทรไต์ ( Electrolyte ) เพื่อจะทราบว่า สารละลายสื่อน าไฟฟ้า Electrolyte ชนิดต่างๆ ของแร่ธาตุ ( Mineral ) ในเลือดว่ามีค่าอยู่ในสภาวะสมดุลหรือไม่
เพื่อหาความผิดปกติที่เกิดจากการควบคุมระดับเกลือแร่(อิเลคโตรไลท์) ในร่างกาย
เพื่อหาความผิดปกติของอวัยวะ เช่น ไต
Sodium( Na) เป็นเกลือแร่ที่อยู่นอกเซลล์ในเลือดที่ทำาหน้าที่
หลายอย่าง
ภาวะโซเดียมต่ำ HypoSodium Na+
ค่ำต่ำกว่ำปกติ :
น้อยกว่า 135 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภำวะโซเดียม
ต่ำ
-การได้รับน้ำมากเกินไป
-การสูญเสียน้ำออกจาก
ร่างกายน้อยกว่าปกติ
-สูญเสียหน้าที่ เช่น ไตวาย
-การได้รับยาที่มีผลกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วน
หน้าให้หลั่ง ADH เพิ่มขึ้น เช่น NSAID
-เบาหวานที่ควบคุมระดับน้ าตาล
ในเลือดไม่ได้
ภาวะโซเดียมสูง HyperSodium Na+
ปัจจัยที่ส่งผลท ำให้เกิดภำวะ
โซเดียมสูง
-การสูญเสียน้ าออกจากร่างกาย
มากกว่าปกติ
-การได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
-การได้รับโซเดียมเข้าสู่ร่างกาย
มากกว่าปกต
ค่ำสูงกว่ำปกติ :
สูงกว่า 145 mEq/L
ปัจจัยที่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ประเมินและติดตามค่าโซเดียมในผู้ป่วยที่มีระดับโปรตีน
เพิ่มขึ้น
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ข้อง บันทึกน้ำเข้าและออก
ดูแลให้เกลือและให้สารละลายโซเดียมตามแผนการรักษา
ติดตามผลโซเดียมสอนและแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและผลกระทบของการมีโซเดียมต่ำ/สูง
Potassium(K)
ภาวะโพแทสเซียมต่ า Hypopotassium K+
-ค่ำต่ำกว่ำปกติ :น้อยกว่า3.5 mEq/L
-ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภำวะ
โซเดียมต่ำ
-การได้รับยา Diuretics, Digitalis,Corticosteroids
-การเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์(Shift into cells)
-ท้องเสีย (Diarrhea) อาเจียน
(Vomiting)
ภาวะโพแทสเซียมสูง Hyperpotassium K+
ค่ำต่ ำกว่ำปกติ :
มากกว่า 5.0mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้โพแทสเซี่ยมสูง
-การได้รับสารที่มี
โพแทสเซียมสูง(Increase in K+
intake)
-โรคไตวายเรื้อรัง
(Renal failure)
-การได้รับยาขับ
ปัสสาวะกลุ่ม K+ sparing diuretics
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
-การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่ก าลังให้
สารละลายทางหลอดเลือดดำ รวมถึงการ
รัดแขนและใช้เวลาในการเจาะดูดเลือดนานเกินไป อาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ประเมินติดตามผลโพแทสเซียมในผู้ป่วยที่ได้รับ
สารประกอบที่มีโพแทสเซียมสูง
ดูแลให้สารประกอบโพแทสเซียมหากมีภาวะโพแทสเซียมต่ำเช่นกล้วย ส้ม และงดหากมีโพแทสเซียมสูง
ติดตามอาการภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
3.Cholride(Cl)
ค่ำต่ำกว่ำปกติ :
น้อยกว่า 96 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลท ำให้เกิด
ภำวะคลอไรด์ต่ำ
-ภาวะไตวาย
-ภาวะไฟไหม้น้ำร้อนลวก(Burn)
-ภาวะคุชชิงซินโดรม-หัวใจล้มเหลว
-อาเจียน-เบาหวานชนิดที่มีเลือดเป็นกรด
ชนิดคีโตนคัง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดดำรวมถึงการใช้
เวลาในการเจาะดูดเลือดนานเกินไป อาจ
ทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ประเมินและติดตามค่าคลอไรด์สำหรับผู้ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด 2. ประเมินและติดตามภาวะน้ าขาดหรือน้ าเกิน
Calcium(Ca)
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
Phosphorus(P)
ปััจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะ
ฟอสฟอรัสต่ำ
-ภาวะขาดสารอาหาร
-ระดับวิตามินดีต่ำ
-โรคตับ
-ระดับแคลเซียมสูง
-ภาวะไฟไหม้น้ าร้อนลวก(Burn)
-ภาวะติดสุรา
ภาวะฟอสฟอรัสต่ำ Hypophosphatemia
ค่ำต่ำกว่ำปกติ :น้อยกว่า2 mg/dl
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะ
ฟอสฟอรัสต่ำ
-ภาวะขาดสารอาหาร
-ระดับวิตามินดีต่ำ
-โรคตับ
-ระดับแคลเซียมสูง
--ภาวะไฟไหม้น้ำร้อนลวก(Burn)
-ภาวะติดสุรา
ภาวะฟอสฟอรัสสูง Hyperphosphatemia
ค่ำต่ำกว่ำปกติ :มากกว่า4.5 mg/d
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิด
ภำวะฟอสฟอรัสสูง
-ตั้งครรภ์
-ภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด์
-โรคไต
-เบาหวานชนิดคีโตนคั่ง
-ภาวะกระดูกหักที่ก าลังฟื้นหาย
-การได้รับวิตามินมากเกินไป
-ระดับแมกนีเซียมต่ำ
-ขณะที่ให้ยาเคมีบ าบัด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่
กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ รวมถึงการรัดแขนและ
ใช้เวลาในการเจาะดูดเลือดนานเกินไป อาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การพยาบาล
6.Magnesium(Mg)
ภาวะแมกนีเซียมต่ำHypomagnesemia
ค่ำต่ำกว่าปกติ :น้อยกว่า1.3 mEq/L
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดภำวะ
ฟอสฟอรัสต่ำ
-Malabsorption disorders :inflammatory bowel syndrome (IBS), bowel
resection
-Alcoholic withdrawal
-Hypothyroidism &
hypoparathyroidism
-Nephrotoxic drugs
-Chemotherapeutic agents
การตรวจเกี่ยวกับการทํางานของระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาล
การทํางานของตับ(Liver function test)
-Globulin ค่าปกติ 1.5-3.2 gm/dl
-Total Protein ค่าปกติ 6.0-8.0 gm/d
-Albumin ค่าปกติ 3.5-5.0 gm/dl
การตรวจเกี่ยยวกับเลือด
การตรวจความสมบูรณ์ของเลือด
1ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนนค่า
การเจาะตัวอยา่งเลือดในขณะทีแขนใหสารละลายทางหลอดเลือดดําอาจทําใหค่าคลาดเคลื่อน
2.การพยาบาล
ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวัง
อาการ
ประเมินประวตั ิเกียวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือ การติดเชื้อ
อาจมีผลทําให้ RBC ลดลง
ประเมินเกียวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
เซลล์เม็ดเลือดขาวลิวโคไซด์
มีหน้าที่ในการต่อสู้ทำลายจุลชีพก่อโรค โดยสรุป WBC คือ เซลล์ที่มีบทบาทหน้าที่ในการเสริมสร้างภูมิต้านทาน(Antibody) เพื่อปกป้องร่างกาย
ค่ำสูงกว่ำปกติ: ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน(Acute infection)โรคเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือด(Circulatory disease) การตกเลือด( Hemorrhage)โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia), Malignant disease, Necrosis, Trauma,การได้รับยาบางชนิด การผ่าตัด
ค่ำต่ ำกว่ำปกติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน(Acute leukemia) , โรคเบาหวาน(Diabetic), ไข้มาลาเรีย(Malaria), ผู้ที่ได้รับรังสีรักษา(Radiation),ติดเชื้อไวรัส (Viral infection)
การตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดขาว
1.ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การออกกำลังกายที่หนักหน่วงมีภาวะเครียดอาจทำให้WBC เพิ่มขึ้นชั่วคราว
ยากลุ่ม Bone marrow depressant อาจลดจำนวน WBC ได้
2.การพยาบาล
คอยสังเกตและบันทึกอาการการติดเชื้อ
ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้เกิดเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ(Leukopenia)จากการติดเชื้อ จนกว่าร่างกายจะไม่มีปัญหาติดเชื้อ
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ท าให้เพิ่มหรือลดจำนวน WBC ได้
เม็ดเลือดแดง,อิลิโทรไซด์
มีหน้าที่ในขนส่งออกซิเจนจากปอดด้วยวิธีการให้ออกซิเจนจับที่บริเวณผิวของเม็ดเลือดแดง ส่งให้ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย โดยจะมีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ค่ำสูงกว่ำปกติ: แสดงถึงภาวะของโรคมะเร็งหรือโรคไต Renal cell carcinoma หรือโรคเลือด(Polycythemia vera) อาจเกิดจากภาวะขาดน้ า(Dehydration)โดยมีผลทำให้จำนวนเม็ดเลือดแดงต่อน้ าเลือด 1 ลบ.มม. มีระดับl^’-7hozbfxd9b
ค่ำต่ ำกว่ำปกติ : เกิดภาวะโลหิตจาง(Anemia), ตกเลือด(Bleeding), ภาวะไตวายเรื้อรัง
(Chronic Renal failure)
การตรวจหาเซลล์เม็ดเลืดแดง
1.ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
2.การพยาบาล
ถ้าลดลงหมายถึงโลหิตจาง ควรประเมินอาการ ประวัติการรับประทานอาหาร ตรวจร่างกายและอาการทางคลินิกของโลหิตจาง
ประเมินเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือติดเชื้อที่ท าให้ RBC
ลดลง
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการเฉียบพลัน เพราะอาจทำให้ค่าลดลง
. 4.สอนและแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและผลกระทบของการเปลี่ยนจำนวนและขนาดของ RBC และความผิดปกติ
Erythrocyte Indices ดัชนีเม็ดเลือดแดง
เป็นความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์
-ค่ำที่ต่ำลงสัมพันธ์กับระดับฮีโมโกลบินและขนาดของเม็ดเลือดแดงที่ต่ำลงจึงมีสาเหตุเช่นเดียวกัน
-ค่ำที่สูงขึ้นพบได้เมื่อปริมาตรของเม็ดเลือดแดง เช่น ภาวะที่เม็ดเลือดแดงเสียรูปโดนัทกลายเป็นลักษณะกลมแทน เช่น ภาวะโลหิตจางจากภูมิต้านทานตนเอง
การทํางานของตับ(Liver function test)
การตรวจการทํางานของระบบหวั ใจและหลอดเลือด
การตรวจระดับไขมันในเลือด
ารตรวจการทํางานของหวั ใจ
การตวจการทำงานเกี่ยวกับไต
เพื่อดูว่าไตสามารถท าหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดขับทิ้งปัสสาวะได้เป็นปกติหรือไม่
โดยตรวจหาค่าดังต่อไปน
Creatinine(Cr)
ค่ำปกติทั่วไปของ Creatinine
ผู้ชาย คือ 0.6 - 1.2 mg/dL ผู้หญิง คือ 0.5 - 1.1 mg/dL
วัยรุ่น คือ 0.5 - 1.0 mg/dL เด็ก คือ 0.3 - 0.7 mg/dL
ทารก (อายุ 1 เดือนขึ้นไป) คือ 0.2 - 0.4 mg/dL
ทารกแรกเกิด คือ 0.3 - 1.2 mg/dL
ค่ำวิกฤติของ Creatinine คือ > 4.0 mg/dL
ค่ำ Cr ต่ำกว่ำปกติ
รับประทานอาหารที่มีอาหารประเภท
โปรตีนต่ าเกินไป
อาจเกิดจากการตั้งครรภ์
อาจเกิดจากโรคตับชนิดร้ายแรง
ค่ำ Cr สูงกว่ำปกติ
สาเหตุจากการทำงานของไตหรือโรคที่มีผลต่อการทำงานของไต
ท่อปัสสาวะอาจถูกปิดกั้น เช่น จากนิ่วในไต
อาจเกิดจากภาวะขาดน้ำ (Dehydration) จึงทำให้เลือดเข้มข้นมากขึ้น
3.BUN / Creatinine Ratio
Blood Urea
Nitrogen(BUN)
ค่ำปกติทั่วไปของ BUN ในผู้ใหญ่ คือ 10 - 20 mg/dL -ค่ำปกติทั่วไปของ BUN ในเด็ก คือ 5-18 mg/dL
ค่ำ BUN ต่ำกว่ำปกติ
รับประทานอาหารประเภทโปรตีนน้อย
เกินไป มีภาวะทุพโภชนาการ
ตับเสียหน้าที่
มีปริมาณน้ำในร่างกายมากเกินไป
(Overhydrated)
อาจเกิดจากยารักษาโรคบางชนิดในประเภท
ยาปฏิชีวนะ
ค่ำ BUN สูงกว่าปกติ
รับประทานอาหารประเภทโปรตีนมากเกินไป
มีภาวะขาดน้ำ (Dehydration) หรือดื่มน้ำน้อยผิดปกติ
การท างานของไตอาจผิดปกติ
ฯลฯ
Estimated glomerular filtration
rate : eGFR
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลตรวจeGFR
กำรดูแลตนเองหาก GFR มีค่ำต่ำ
ควบคุมโรคที่เป็นสาเหตุทำให้ไตเสื่อมให้ดีโดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรับประทานอาหารสุขภาพ และออกก าลังกาย
Creatinine clearance
การตรวจการทํางานของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจระดับไขมันในเลือด
การตรวจการทํางานของหัวใจ