Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง (Nursing Care of Children with…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
(Nursing Care of Children with Acquired Heart Disease)
1. ไข้รูมาติก (Rheumatic Fever)
โรคที่มีการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น หัวใจ เนื้อเยื่อของข้อ สมองเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และผิวหนัง
สาเหตุ
มักเกิดตามหลังการติดเชื้อในทางเดินหายใจส่วนบน เช่น คออักเสบ หรือต่อมทอนซิลอักเสบ จากเชื้อ β-hemolytic streptococcus group A และไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องภายในเวลา 1-5 สัปดาห์ จึง เกิดการอักเสบตามอวัยวะต่างๆของร่างกายขึ้น
พยาธืสภาพ
เมื่อเกิดการติดเชื้อ β-hemolytic streptococcus group A ในร่างกาย โดยเฉพาะการติดเชื้อที่ล าคอ ซึ่งมักพบได้บ่อย ประมาณ 1-5 สัปดาห์ ผู้ป่วยจึงแสดงอาการสำหรับกลไก การเกิดโรคนั้น เชื่อว่า เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายจะมีปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรค (antigen-antibody reaction) โดยจะสร้างแอนติบอดีจ าเพาะต่อเชื้อโรค แต่เนื่องจากส่วนต่างๆ ของเชื้อโรคมีความคล้ายคลึงกันทาง ระบบภูมิคุมกันกับเนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย แอนติบอดีจ าเพาะต่อเชื้อโรค ดังกล่าวก็จะมีปฏิกิริยากับ เนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆด้วย จึงท าให้เนื้อเยื่อเหล่านี้ถูกท าลาย เช่น หัวใจ เนื้อเยื่อของข้อ สมอง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
อาการและอาการแสดง
อาการหลัก (major criteria)
1.การอักเสบของหัวใจ (carditis)อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติเต้นผิดจังหวะ
อาการข้ออักเสบ (arthritis) มักเป็นกับ ข้อใหญ่ๆ ของแขนและขาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป ข้อที่ เป็น บ่อยได้แก่ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อมือ มีลักษณะของการอักเสบ เจ็บ บวม แดงและร้อน
อาการรอง (minor criteria)
• ไขต่ำๆ ~38°C • ปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ (polyarthralgia)
• เลือดกำเดาไหล โดยไม่ทราบสาเหตุ
• อาการอื่นๆ เช่น อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บ หน้าอก ซีด น้ำหนักลด
• มีประวัติเคยเป็นไข้รูมาติกมาก่อน หรือเป็นหวัดเจ็บคอบ่อย
การรักษา
1.ให้ยาปฏิชีวนะกำจัดเชื้อ
ยาลดการอักเสบของหัวใจและข้อ ได้แก่ salicylate และ steroid
ถ้ามีภาวะหัวใจวาย ให้ยา digitalis เช่น digoxin ยาขับปัสสาวะ ยาลด afterload
ยาลดอาการ chorea เช่น phenobarbital
โรคหัวใจรูมาติก
( Rheumatic Heart Disease )ซึ่งทำให้มีการอักเสบของหัวใจ ทุกชั้น รวมทั้ง เยื่อบุหัวใจและลิ้นหัวใจด้วย
สาเหตุ
เป็นผลหรือภาวะแทรกซ้อนของไข้รูมาติก เนื่องจากร่างกายได้รับเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A ประมาณ 1-5 สัปดาห์ แล้ว ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องหรือทันท่วงทีจึงทำ ให้ เกิดหัวใจอักเสบ และจะมีการทำลายลิ้นหัวใจด้วย
พยาธิสรีรภาพ
จะมีการอักเสบของ ลิ้น หัวใจทุกชั้นในรายที่เป็นไข้รูมาติก ซ้ำๆ หลายๆครั้งจะส่งผลให้ ลิ้นหัวใจถูกทำลายมากขึ้น โดยมีการ หดตัว หรือแข็งตัวขึ้น ทำให้เกิดความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ขึ้น อาจจะเป็นการรั่ว หรือการตีบ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
ภาวะหัวใจวายหรือภาวะหัวใจล้มเหลว หรือภาวะหัวใจวายชนิดเลือดคั่ง หมายถึง กลุ่มอาการหรือความ ผิดปกติที่เกิดในระบบไหลเวียนเลือด เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปตามระบบไหลเวียนเลือดเพื่อนำ ออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
พยาธิสรีรภาพ
1) ปริมาณของเลือดในเวนตริเคิลก่อนบีบตัว (preload, ventricular end-diastolic volme)
2) การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardial contractility)
3) แรงต้านทานการไหลเวียนของเลือดขณะหัวใจบีบตัว (afterload)
4) อัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate)
อาการและอาการแสดง
หัวใจซีกซ้ายวาย (left-sided failure)
ผู้ป่วยมี ภาวะ hypoxia จึงมีอาการหายใจเร็ว (tachypnea), หายใจลำบาก (dyspnea), เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ (orthopnea) มีอาการเหนื่อยหอบในช่วงกลางคืน (paroxysmal nocturmal dyspnea) บางรายอาจมีอาการไอมี เสมหะเป็นฟองหรือมีเลือดปน และฟังได้เสียง crepitation เนื่องจากมี pulmonary congestion
2.หัวใจซีกขวาวาย (right-sided failure)
ผู้ป่วยมีอาการบวม เช่น บวมที่ขา บวมทั้งตัว มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น บางรายมีม้ามโต คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง แน่นอึดอัดท้อง แขนขาเย็น บวม และมีน้ าในช่องท้อง อาการเหล่านี้ส่วนใหญ่จะตรวจพบในเด็ก โต ส่วนในเด็กเล็กอาจพบว่ามีอาการตับโต (hepatomegaly) เท่านั้น
การรักษา
ยากลุ่ม(digitalis glycosides) ที่นิยม >> Lanoxin ก่อนให้ยา lanoxin ฟัง HR **งดให้ยา lanoxin < 100 ครั้ง/นาที ในเด็กที่ < 1 ปี < 80 ครั้ง/นาที ในเด็กที่> 1 ปี < 60 ครั้ง/นาที ในเด็กโต การรักษา
ยากลุ่ม Beta-adrenergic receptor blocking agent >>propranolol
ยาขยายหลอดเลือด (vasodilators)
ยา ACE inhibitors หรือ ACEI
ยาขับปัสสาวะ (diuretic drugs) >> Lasix
ลดอาหารรสเค็ม
ให้ออกซิเจน
ให้ sedative
รักษาสาเหตุของการเกิดภาวะหัวใจวาย เช่น การผ่าตัด
โรคคาวาซากิ (Kawasaki disease)
เป็นโรคที่เกิดการอักเสบของเยื่อบุผิวหนัง หลอด เลือดและต่อมน้ำเหลือง ส่วนใหญ่จะพบในเด็ก โดยพบ ในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อย
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนานกว่า 5 วัน ติดต่อกัน
พบอาการและอาการแสดงอย่างน้อย 4 อย่าง
2.1 ตาแดงทั้ง 2 ข้าง โดยไม่มีขี้ตา
2.2 มือ เท้า บวมแดง ลอก
2.3 ริมฝี ปากแดง แห้ง แตก ลิ้นแดงคล้ายผิว สตรอเบอร์รี่
2.4 ผื่นแดงบริเวณลำตัวขาหนีบ
2.5 ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโตมากกว่า 1.5 เซนติเมตร ไม่เจ็บ มักเป็นข้างเดียว
การรักษา
ควรเริ่มให้เร็วภายใน 10 วันหลังมีไข้ จะลดระยะเวลา การดา เนินโรคและอุบัติการณ์ การเกิด ความผิด ปกติของหลอดเลือด
Gamma globulin (IVIG)
แอสไพริน ลดการอักเสบ ขัดขวางการเกาะตัวของ เกล็ดเลือด