Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง (Nursing Care of Children with…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
(Nursing Care of Children with Acquired Heart Disease)
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic Heart disease)
พยาธิสภาพ
ภายหลังที่เด็กเป็นไข้รูมาติกแล้ว จะมีการอักเสบของลิ้นหัวใจทุกชั้น เช่น เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ และเยื่อบุหัวใจอักเสบ
ข้อวินิจฉัย
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายขาดออกซิเจน เนื่องจากมีภาวะหัวใจวาย เพราะมีการอักเสบของหัวใจ
และพยาธิสภาพของลิ้นหัวใจ
ผู้ป่วยมีความเครียดต่อการถูกจำกัดให้พักอยู่บนเตียงและอยู่โรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A ซ้ำ และมีการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจจาก
การเป็นโรคไข้รูมาติกมาก่อน
บิดามารดาเกิดความวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของบุตร และการดูแลบุตรเมื่อกลับบ้าน
พยาบาลควรให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยบิดามารดาในการป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
สาเหตุ
เป็นผลหรือมาจากภาวะแทรกซ้อนของไข้รูมาติก
ไข้รูมาติก (Rheumatic Fever)
สาเหตุ
ไข้รูมาติกเป็นโรคที่มักเกิดตามหลังการติดเชื้อในทางเดินหายใจส่วนบน
คออักเสบ
จากเชื้อ β-hemolytic streptococcus group A
ต่อมทอนซิลอักเสบ
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อเกิดการติดเชื้อ β-hemolytic streptococcus group A ในร่างกาย
ร่างกายจะมีปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรค (antigen antibody reaction) โดยจะสร้างแอนติบอดีจาเพาะต่อเชื้อโรค
อาการและอาการแสดง
อาการหลัก (major criteria)
การอักเสบของหัวใจ (Carditis)
ข้ออักเสบ (Arthritis)
อาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Sydenham’s chorea)
ปุ่มใต้หนัง (Subcutaneous nodules)
ผื่นแดงที่ผิวหนัง (Erythema marginatum)
อาการรอง (minor criteria)
polyarthralgia มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ
เลือดกาเดาไหลโดยไม่ทราบสาเหตุ
ไข้ต่าๆ ประมาณ 38.0 องศาเซลเซียส บางครั้งไข้อาจสูงได้
รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอก ซีด และน้าหนักลด
มีประวัติเคยเป็นไข้รูมาติกมาก่อน
การวินิจฉัยโรค
ผู้ป่วยมี 2 major criteria
ผู้ป่วยมี 1 major criteria และ 2 minor criteria
ผู้ป่วยมีอาการ chorea
การเกิดเป็นไข้รูมาติกซ้ำ
การรักษา
ให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อน
ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาโดยใช้ยา digitalis
ให้ยาสำหรับต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ ได้แก่ salicylate และ steroid
การรักษา chorea เช่น phenobarbital, haloperidol และอาจใช้ chlopromazine
ให้ยาปฏิชีวนะสำหรับกำจัดเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A
การพยาบาล
ผู้ป่วยมีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ เนื่องจากติดเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ จำกัดกิจกรรมต่างๆที่ต้องออกแรง
ดูแลให้ยาแอสไพริน
อธิบายให้ผู้ป่วยและ/หรือบิดามารดาให้เข้าใจถึงเหตุผลในการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา
ดูแลให้ยา prednisolone ตามแผนการรักษาในรายที่มี severe carditis หรือมีภาวะหัวใจวายร่วม
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ทำ tepid sponge ในผู้ป่วยที่มีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส
ดูแลให้อาหารอ่อน ย่อยง่ายแก่ผู้ป่วยที่มีไข้สูง
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามฟังเสียงฟู่ของหัวใจ (cardiac murmur)
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
อาการและอาการแสดง
หัวใจซีกซ้ายวาย
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
เหนื่อยหอบ
เกิดภาวะปอดบวมน้ำ
นอนราบไม่ได้
หัวใจซีกขวาวาย
คลื่นไส้อาเจียน
บางรายมีม้ามโต
ปวดท้อง
แน่น อึดอัดท้อง
พยาธิสภาพ
ขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้ง 4 ประการ
การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
แรงต้านทานการไหลเวียนของเลือดขณะหัวใจบีบตัว
ปริมาณของเลือดในเวนตริเคิลก่อนบีบตัว
อัตราการเต้นของหัวใจ
เมื่อเด็กมีความผิดปกติในระบบหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ไหลออกไปเลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง
อวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนต่างๆของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
หัวใจทำงานหนัก
ข้อวินิจฉัย
ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง เป็นผลจากความผิดปกติของหัวใจหรือหลอดเลือด เช่น VSD,
ASD, PDA, MI, AI
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดเลือด
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาจ าพวกดิจิตาลิสตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษาในรายที่มีอาการเหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ที่ทำลายแองจิโอเทนซิน
จำกัดกิจกรรมต่างๆของผู้ป่วย และดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
ดูแลให้อาหารจืดหรือเค็มน้อย
สาเหตุ
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้นเนื่องจากมีปริมาณเลือดในหัวใจเพิ่มมากขึ้น
ความผิดปกติของกล้มเนื้อของหัวใจ (myocardial factor) ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจ
ลดลง
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น เนื่องจากมีความดันในเวนตริเคิลสูงกว่าปกติ
จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ (dysrhythmias) ส่งผลให้ปริมาณเลือดไหลปริมาณเลือดไหลออกจาก
หัวใจลดลง
โรคคาวาซากิ
อาการและอาการแสดง
ริมฝปากแห้งและแดง อาจแตกมีเลือดออกด้วย
ฝามือและฝ่าเท้า จะบวมแดง
ตาแดง จะเป็นทั้ง 2 ขาง มักเห็นภายใน 2-4 วันแรก
ผื่น มักขึ้นภายใน5 วันแรกนับจากมีไข้
เด็กจะมีไขสูงทกคน โดยมากมักเปนนานเกิน 5 วัน
ต่อมน้ำเหลือง ที่โตมักพบที่คอ มักเป็นข้างเดียว
การรักษา
ในชวงที่มีไขใน 10 วันแรก จะตองตรวจหัวใจด้วยเครื่องอัลตราซาวน์ เพื่อดูลักษณะหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ
ให้ยาลดการอักเสบคือ ยา aspirin
สาเหตุ
ยังไมทราบแนชัด เข้าใจว่ามีความเกี่ยวเนื่องกับพันธุกรรม ตลอดจนการสัมผัสกับอะไรบางอย่าง