Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ, image, image, image, image…
การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเกี่ยวกับเลือดหาความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่า คลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวัง อาการ 2. ประเมินประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการติดเชื้อ อาจมี ผลทำให้ RBC ลดลง 3. ประเมินเกี่ยวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
White Blood Cell , Leukocyte เซลล์เม็ดเลือดขาว ลิวโคไซด์
จำนวน หมายถึง จำนวนเซลล์ของ WBC ต่อ 1 ลบ.มม. หรือต่อ1 µL(microlite)ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 1 ในล้านของลิตร
มีหน้าที่ในการต่อสู้ทำลายจุลชีพก่อโรค โดยสรุป WBC คือ เซลล์ที่มีบทบาทหน้าที่ใน การเสริมสร้างภูมิต้านทาน(Antibody) เพื่อปกป้องร่างกาย
ค่าสูงกว่าปกติ: ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน(Acute infection) โรคเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือด(Circulatory disease) การตกเลือด( Hemorrhage) โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia), Malignant disease, Necrosis, Trauma, การได้รับยาบางชนิด การผ่าตัด
ค่าต่ำกว่าปกติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน(Acute leukemia) , โรคเบาหวาน (Diabetic), ไข้มาลาเรีย(Malaria), ผู้ที่ได้รับรังสีรักษา(Radiation), ติดเชื้อไวรัส (Viral infection)
การตรวจหาจำนวนของเม็ดเลือดขาว (White Blood Count :WBC)
การพยาบาล
ถ้าลดลงหมายถึงโลหิตจาง ควรประเมินอาการ ประวัติการ รับประทานอาหาร ตรวจร่างกายและอาการทางคลินิกของโลหิตจาง 2. ประเมินเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือติดเชื้อที่ทำให้ RBC ลดลง 3. ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการ เฉียบพลัน เพราะอาจทำให้ค่าลดลง 4. สอนและแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและผลกระทบของ การเปลี่ยนจำนวนและขนาดของ RBC และความผิดปกติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่ก าลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่า คลาดเคลื่อน
Erythrocyte Indices ดัชนีเม็ดเลือดแดง
เป็นปริมาณของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์ ซึ่งมีความสัมพันธ์ โดยตรงกับปริมาตรของเม็ดเลือดแดง
ค่ำที่ต่ำลงสัมพันธ์กับระดับฮีโมโกลบินและขนาดของเม็ดเลือดแดงที่ต่ำลง จึงมีสาเหตุเช่นเดียวกัน ค่ำที่สูงขึ้นพบได้เมื่อปริมาตรของเม็ดเลือดแดง เช่น ภาวะที่เม็ดเลือดแดงเสียรูปโดนัท กลายเป็นลักษณะกลมแทน
Hemoglobin ฮีโมโกลบิน
ระดับฮีโมโกลบิน (hemoglobin) เป็นการตรวจความเข้มข้นของระดับฮีโมโกลบินในเลือด ปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (hematocrit) ค่า %HCT มักจะมีค่าเป็นสามเท่าของความเข้มข้นของฮีโมโกลบิน หน่วยเป็น กรัมเปอร์เดซิลิตร
ปัจจัยที่ทำให้ค่า คลาดเคลื่อน
ถ้าหากมีการให้ packed red cells กับผู้ป่วย จะทำให้ปริมาณของ เซลล์เม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นมากขึ้น การเจาะเลือดใช้เวลาอาจทำให้เม็ดเลือดแตก
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่า คลาดเคลื่อน
การพยาบาล
ระดับฮีโมโกลบินที่ลดลงแสดงถึงภาวะโลหิตจาง ซึ่งเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น การขาดสารอาหารโดยเฉพาะธาตุเหล็กหรือวิตามินบี 12 และโฟเลท
ระดับฮีโมโกลบินสูง : พบได้ในภาวะขาดสารน้ำในร่างกาย หรือโรคเลือดข้นจากการ ขาดออกซิเจนเรื้อรังหรือไขกระดูกทำงานผิดปกติก็ได้
Hematocrit ฮีมาโตรคริต
ปัจจัยที่ทำให้ค่า คลาดเคลื่อน การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจทำให้ค่า คลาดเคลื่อนหรือถ้าหากมีการให้ packed red cells กับผู้ป่วย จะทำให้ปริมาณของ เซลล์เม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นมากขึ้น
ฮีมาโทคริต (Hematocrit, Ht หรือ HCT) หรือ packed cell volume (PCV) หรือ erythrocyte volume fraction (EVF) คือ เปอร์เซนต์ของเม็ดเลือดแดงต่อปริมาณเลือด ทั้งหมด ค่า %HCT มักจะมีค่าเป็นสามเท่าของความ เข้มข้นของ ฮีโมโกลบิน หน่วยเป็น % หรือ volume %
กำรพยำบำล
ค่าสูงกว่าปกติ: ติดตามประเมินภาวะขาดน้ำ ติดตามความรุนแรงในกรณี ไข้เลือดออก ภาวะเลือดเหนืด ( Polycythemia ) แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ รักษา ร่างกายให้อบอุ่น
ค่าต่ำกว่าปกติ : ติดตามประเมินภาวะการเสียเลือด (Hemorrhage) ผู้ป่วยกลุ่ม เสี่ยงภาวะโลหิตจาง
การตรวจเกี่ยวกับ อิเลคโตรไลท์ Test related to Electrolyte
Calcium Ca++
ทำหน้าที่ เป็นองค์ประกอบของฟัน และกระดูก เป็นผู้สื่อข่าวที่ สองภายในเซลล์และ ควบคุมการทำงานของ เอ็นไซม์ต่างๆ
ค่าปกติ : ผู้ใหญ่ 9-10.5 mg/dl (2.25-2.75 mmol/L) เด็ก 7.6 -10.8 mg/dl (1.9-2.7 mmol/L) ค่าวิกฤต : น้อยกว่าเท่ากับ 7 mg/dl มากกว่าเท่ากับ 13 mg/dl
ภาวะแคลเซียมต่ า Hypocalcemia ค่าต่ำกว่าปกติ : น้อยกว่า 9 mEq/L
ภาวะแคลเซียมสูง HyperSodium Na+ค่าสูงกว่าปกติ : สูงกว่า 10.5 mEq/L
ภาวะโซเดียมต่ำ HypoSodium Na+
ค่าต่ำกว่าปกติ : น้อยกว่า 135 mEq/L :การได้รับน้ำมากเกินไป การสูญเสียน้ าออกจาก ร่างกายน้อยกว่าปกติ เบาหวานที่ควบคุมระดับน้ าตาล ในเลือดไม่ได้
Potassium K+
ภาวะโพแทสเซียมต่ำ Hypopotassium K+
ค่าต่ำกว่า ปกติ : น้อยกว่า 3.5 mEq/L :การได้รับยา Diuretics, Digitalis, Corticosteroids ท้องเสีย (Diarrhea) อาเจียน (Vomiting
ภาวะโพแทสเซียมสูง Hyperpotassium K+
ค่าต่ำกว่าปกติ : มากกว่า 5.0mEq/L :โรคไตวายเรื้อรัง (Renal failure) การได้รับยาขับ ปัสสาวะกลุ่ม K+ sparing diuretics
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดดำ รวมถึงการ รัดแขนอาจทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
Sodium Na+ ค่ำปกติ : 136-145 mEq/L หน้าที่ช่วยในการนำส่ง กระแสประสาทช่วยควบคุมกรด-ด่าง รักษาปริมาตร ความเข้มข้นและกระจายตัว ของของเหลว
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้ สารละลายทางหลอดเลือดด าอาจทำให้ค่า คลาดเคลื่อน
ภาวะโซเดียมสูง HyperSodium Na+
ค่าสูงกว่าปกติ : สูงกว่า 145 mEq/L : การสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย มากกว่าปกติ เนื่องจาก เบาจืด เบาหวาน การได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย
สารละลายของธาตุระดับโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า คือ แร่ธาตุอันเป็นสารเคมีที่ สามารถน าไฟฟ้าได้ซึ่งแตกตัวออกจนเป็นส่วนย่อยเล็กที่สุด ( ระดับไอออน )
Magnesium (Mg) ค่าปกติ : ผู้ใหญ่ =1.3-2.1 mEq/L เด็ก = 1.4-1.7 mEq/L ทำรกแรกเกิด = 1.4 -2.0 mEq/L
ภาวะแมกนีเซียมต่ำ Hypomagnesemia ค่าต่ำกว่า ปกติ : น้อยกว่า 1.3 mEq/L :Alcoholic withdrawal Nephrotoxic drugs
Chroride Cl-
Hypochloremia ค่าต่ำกว่าปกติ : น้อยกว่า 96 mEq/L :ภาวะไตวาย ภาวะไฟไหม้น้ าร้อนลวก(Burn) ภาวะคุชชิงซินโดรม
Hyperchloremia ค่าสูงกว่าปกติ : สูงกว่า 107 mEq/L : ภาวะขาดน้ำ ภาวะโลหิตจาง ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง โรคไต
Chroride Cl- ค่าวิกฤติ CI : < 80 หรือ > 115 mEq / L
หากระดับคลอไรด์สูง หรือต่ำจะบ่งชี้ถึง สาเหตุ เกี่ยวข้องกับภาวะสมดุล กรด-ด่าง
Phosphorus, Phosphate (P)
ภาวะฟอสฟอรัสต่ำ Hypophosphatemia ปกติ : น้อยกว่า 2 mg/dl ภาวะขาดสารอาหาร โรคตับ
ภาวะฟอสฟอรัสสูง Hyperphosphatemia ปกติ : มากกว่า 4.5 mg/dl ตั้งครรภ์ ภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด์ โรคไต
การตรวจเกี่ยวกับการทำงานของไต
Creatinine(Cr)
ติดตามการรักษาโรคไตได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในผู้ที่มีโรคประจ าตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดไตเสื่อมต่าง
ค่า Cr ต่ำกว่าปกติ :อาจเกิดจากโรคตับชนิดร้ายแรง ค่ำ Cr สูงกว่าปกติ:สาเหตุจากการท างานของไตหรือโรคที่มีผลต่อการท างานของ ไต
Blood Urea Nitrogen(BUN) ค่าปกติทั่วไปของ BUN ในผู้ใหญ่ คือ 10 - 20 mg/dL ค่าปกติทั่วไปของ BUN ในเด็ก คือ 5-18 mg/dL
Estimated glomerular filtration rate : eGFR
อัตราการ กรองของเสียของไต (Estimated glomerular filtration rate : eGFR หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “GFR”) การตรวจหาค่าอัตราการไหลของเลือดผ่านตัว กรองไตในหนึ่งนาที
การตรวจเกี่ยวกับการทำงานของระบบทางเดินอาหาร
Albumin ค่าปกติ 3.5-5.0 gm/dl การท างานของตับ ภาวะโภชนาการ ภาวะสูญเสียน้ำออกนอกเซลล์ เช่น บวม
Total Protein ค่าปกติ 6.0-8.0 gm/dl ติดตามภาวะขาดสารอาหาร เลือดออก การดูดซึมโปรตีน
Globulin ค่าปกติ 1.5-3.2 gm/dl กำรติดเชื้อเรื้อรัง การทำงานของตับ
การทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด
PT :red_flag:PTT :red_flag:INR :red_flag:Bleeding time :red_flag:Platelet (plt)
การทำงานของต่อมไร้ท่อ
การปัสสาวะ อุจจาระ