Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ, 2, 3, 4, 5, 6 - Coggle Diagram
บทที่3การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
ลักษณะทั่วไป ผิวหนัง ผม ขน เล็บ
การตรวจผิวหนัง
ใช้เทคนิค การดูและการคลํา
1.สีผิว (skin color)
-ผิวสีซีด (pallor) นิยมตรวจบริเวณเยื่อบุเช่นเยื่อบุตาเยื่อบุช่องปากผิวหนัง ฝามือ-เท้า ริมฝีปากและเล็บ พบในผู้ป่วยโลหิตจาง
-ผิวเหลือง (jaundice) บริเวณที่ตรวจ คือ ตาขาว (sclera) เยื่อบุต่างๆ
ฝ่ามือ-เท้า และผิวทั่วไป พบในผู้ป่วย โรคตับ
-ผิวสีเขียวคลำ(cyanosis) บริเวณที่ตรวจ คือ ริมฝีปาก ใบหน้า ฝ่ามือเท้า ลิ้นและเล็บพบในผู้ป่วยโรคหัวใจ หอบหืด
-ผิวสีแดง (erythema) บริเวณที่ตรวจ คือ ใบหน้าหน้าอกส่วนบนเกิดจากเส้นเลือดขยายตัว พบใน ภาวะไข้ อายุ สุรามีการอักเสบ
-ผิวสีอื่นๆจากการเปลี่ยนแปลงของเม็ดสีเช่นผู้สูงอายุ
-ลักษณะผิว (skin texture) ความรู้สึกในการคลำผิวหนัง ผิวปกติจะเรียบเกลี้ยงไม่หยาบหรือขรุขระ เคลื่อนที่ได้และเป็นไปตามอายุ
-ความตึงตัว (skin turgor)หยาบผิวหนังและไขมันใต้ผิวหนังขึ้นมาแล้วปล่อยสังเกตดูว่าจีบหายไปเร็วหรือช้า
ภาวะปกติผิวหนังกลับสภาพเดิมทันที
ภาวะผิดปกติผิวหนังตัง6 อยู่นานเกิน
-อุณหภูมิของผิวหนัง (temperature)
ภาวะปกติผิวหนังจะอยู่ทั่วร่างกาย
ภาวะผิดปกติผิวหนังร้อนในรายมีไข้
-ความชุ่มชื่น (moisture)
ภาวะปกติผิวจะแห้งจะชุ่มชื่น
ภาวะผิดปกติเหงือออกมาก เหงือออกทั่วร่างกาย ผิวแห้งมากการไหลเวียนไม่ดี
-เม็ดผืนหรือตุ่ม(skin lesion) เมื่อพบเม็ดผืนต่างๆ ให้ตรวจดูสี
ชนิดหรือประเภทรูปร่างหรือการรวมกัน ตําแหน่งและการกระจายจุดเลือดออก
-เลือดที่เกิดจากการขยายของหลอดเลือดชั้นตื่น
-การบวม (edema)ใช้นิ้วมืออาจใช้นิ้วหัวแม่มือ หรือนิ้วชี้นิ้วเดียว หรือนิ้วชี้กลางและนิ้วนาง กดลงบนผิวหนังที่ด้านหลังมีกระดูกรอง
ระดับการบวม มี4 ระดับ
1+ กดบุ๋มลงไป 2 มม
2+ กดบุ๋มลงไป 4 มม
3+ กดบุ๋มลงไป 6 มม
4+ กดบุ๋มลงไป 8 มม
ลักษณะทั่วไป
การรู้สติและสภาวะทางด้านจิตใจ
ภาวะสุขภาพที่ปรากฎ
อาการแสดงของภาวะผิดปกติไม่สุขสบาย
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
กิริยาอารมณ์และความร่วมมือในการตรวจ
เสียงและการพูด
ท่าทาง การเคลื่อนไหว และท่าเดิน
การแต่งตัวและสุขวิทยาส่วนบุคคล
กลิ่นลมหายใจและกลิ่นตัว
สีหน้าที่แสดงออก
การตรวจผมและขน
ใช้เทคนิคการดูคลํา และดมกลิ่น
-ภาวะปกติสีผมจะเป็นธรรมชาติของเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ปริมาณผมมากในวัยรุ่น ผมควรนุ่ม ไม่หยาบและหักง่ายหนังศีรษะควรสะอาด
-ภาวะผิดปกติผมเปลี่ยนสีสีไป (โดยไม่ย้อม) ผมร่วงมาก
ผมหยาบเปราะ แตกง่าย ผมสกปรก มีรังแค เหา มีกลิ่น
มีบาดแผลและตุ่ม
การตรวจเล็บ
ใช้การดูและคลํา มีจุดมุ่งหมาย ดูสีรูปร่างลักษณะเล็บ
-ภาวะปกติโคนเล็บจะนุ่ม หยุ่นเล็กน้อย มุมระหว่างฐานเล็บ (nailbase) กับผิวหนังโคนเล็บเล็บเป็นสีชมพูผิวเล็บเรียบแนบสนิทกับเนื้อเยื่อด้านล่าง
-ภาวะผิดปกติเล็บไม่เรียนนู้น บางไม่เท่ากันนิ้วนุ่ม (clubbing finger)
พบในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด ปอดอุดกันเป็นเรื้อรังโรคหัวใจเล็บรูปช้อน
(spooning finger)พบในผู้ที โลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก
การตรวจศีรษะ ใบหน้า คอ
การตรวจคอ
การดูกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid ให้ผู้ใช้บริการก้มหน้าจนคางชิดอก เอียงศีรษะไปด้านซ้ายและขวาหมุนศีรษะไปด้านซ้ายและขวา กล้ามเนื้อtrapezius ให้ผู้ใช้บริการแหงนหน้าให้ศีรษะไปด้านหลังจนสุดให้ยืดคอเต็มที่ - ภาวะปกติสามารถเคลื่อนไหวได้ตามที่ให้ทำและเห็นพื้นที่หรือขอบเขตของคอภาวะผิดปกติคอเอียง คอแข็ง ไม่สามารถก้มคอเอียงคอ หมุนคอแหงนหน้ายืดคอได้การคลํา กล้ามเนื้อsternocleidomastoid ให้ผู้ใช้บริการหนักศีรษะไปด้านตรงข้ามผู้ตรวจวางมือบริเวณคางและแก้มบอกให้ผู้ใช้บริการศีรษะกลับ โดยผู้ตรวจดันหรือกดมือต้านการหนักศีรษะ กล้ามเนื้อtrapezius ผู้ตรวจวางมือบนไหล่ทัง6 2 ข้างของผู้ใช้บริการให้ไหล่ยกขึ้นต้านแรงผู้ตรวจ - ภาวะปกติสามารถต้านแรงผู้ตรวจได้ภาวะผิดปกติไม่สามารถต้านแรง
ใช้เทคนิค การคลําให้ใช้บริการอยูในท่านั่งหรือนอนหงาย หน้าตรงก้มคอลงเล็กน้อยเพื่อให้กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid หย่อนใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือที่ถนัด แทงที่บริเวณ suprasternal notch ให้นิ้วอยู่ 2ข้างของหลอดลมคอ สังเกตความสะดวกในการแยง และสังเกตเนื้อน่มุ ๆที่คลําพบภาวะปกติหลอดลมอยู่ตรงกลางคอ คือ นิ้วทั้ง สองแยงได้สะดวก เท่ากันคลําได้เนื้อนุ่มๆเท่ากันทัง6 สองข้างภาวะผิดปกติหลอดลมเฉไปทางใดนิ้วที่แยงของฝั่งตรงข้ามจะแยงได้สะดวกกว่าและอาจคลําพบวงกระดูกอ่อนของหลอดล
การตรวจศรีษะ
การดูผู้ตรวจยืนเผชิญหน้ากับผู้ใช้บริการสังเกตดูรูปร่างและขนาดของศีรษะ ผม หนังศีรษะ
การคลํา ผู้ตรวจยืนเผชิญหน้ากับผู้ใช้บริการ ใช้ปลายนิ้ววนเป็นวงกลมและเบาๆไปทั่ว ศีรษะเริ่มส่วนหน้าของศีรษะด้านข้าง ไล่ไปส่วนบนและท้ายทอยค้นหาก้อนผิดปกติและบริเวณท้ายทอยจะคลําหาต่อมน้ำเหลือง
การตรวจใบหน้า
การดูผู้ตรวจยืนเผชิญหน้ากับผู้ใช้บริการสังเกตความสมมาตรของใบหน้าการเคลื่อนไหวต่างๆบนใบหน้าการกระจายของขนคิ้วขนตา หนวดเครา สีผิวลักษณะของผิวหน้า ค้นหารอยโรค สังเกตมุมปาก การแสดงออกของใบหน้าการทํางานของกล้ามเนื้อใบหน้า
Nephrotic syndrome : ใบหน้าบวมมาก จนทําให้สีผิวค่อนข้างซีด การบวมเริ่มจากบริเวณรอบๆตาCushing syndrome : ใบหน้าจะกลม เรียกว่าmoon faceแก้มป๋อง แดงผมหยาบ บาง มีหนวดหรือเครา