Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัต…
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment การวิเคราะห์ผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เซลล์เม็ดเลือดขาว ลิวโคไซด์
บทบาท
มีหน้าที่ในการต่อสู้ทาลายจุลชีพก่อโรค โดยสรุป WBC คือ เซลล์ที่มีบทบาทหน้าที่ในการเสริมสร้างภูมิต้านทาน(Antibody) เพื่อปกป้องร่างกาย
ภาวะที่เกี่ยวข้อง
ค่ำสูงกว่ำปกติ : ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน(Acute infection) โรคเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือด(Circulatory disease) การตกเลือด( Hemorrhage) โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia), Malignant disease, Necrosis, Trauma, การได้รับยาบางชนิด การผ่าตัด
ค่ำต่ำกว่ำปกติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน(Acute leukemia) , โรคเบาหวาน(Diabetic), ไข้มาลาเรีย(Malaria), ผู้ที่ได้รับรังสีรักษา(Radiation), ติดเชื้อไวรัส (Viral infection)
Hemoglobin
การแปลผล
เพศชาย : 13-17 mg/dl
เพศหญิง : 12-15 mg/dl
ปัจจัยที่ทำให้ค่ำคลาดเคลื่อน
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กาลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดาอาจทาให้ค่าคลาดเคลื่อนหรือถ้าหากมีการให้ packed red cells กับผู้ป่วย จะทาให้ปริมาณของเซลล์เม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นมากขึ้น การเจาะเลือดใช้เวลาอาจทาให้เม็ดเลือดแตก
การพยาบาล
ระดับฮีโมโกลบินที่ลดลง
แสดงถึงภาวะโลหิตจาง ซึ่งเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น จากการเสียเลือด การขาดสารอาหารโดยเฉพาะธาตุเหล็กหรือวิตามินบี 12 และโฟเลท โรคเลือดทางพันธุกรรมเช่น ธัลลัสซีเมีย รวมถึงโรคของไขกระดูกทาให้ผลิตเม็ดเลือดแดงได้ลดลง
ติดตามประเมินภาวะการเสียเลือด (Hemorrhage) ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงภาวะโลหิตจาง และใช้ประกอบการประเมินภาวะขาดสารอาหารร่วมกับErythrocyte Indices แนะนาและดูแลจัดโภชนาการให้เหมาะสม
ระดับฮีโมโกลบินสูง
พบได้ในภาวะขาดสารน้าในร่างกาย หรือโรคเลือดข้นจากการขาดออกซิเจนเรื้อรังหรือไขกระดูกทางานผิดปกติก็ได้ ดูแลติดตามประเมินภาวะขาดน้า แนะนาให้ดื่มน้ามากๆ
Hematocrit
การแปลผล
เพศชาย : 38-50%
เพศหญิง : 36-45 %
ปัจจัยที่ทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กาลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดาอาจทาให้ค่าคลาดเคลื่อนหรือถ้าหากมีการให้ packed red cells กับผู้ป่วย จะทาให้ปริมาณของเซลล์เม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นมากขึ้นการเจาะเลือดใช้เวลาอาจทาให้เม็ดเลือดแตก
ค่าสูงกว่าปกติ
ติดตามประเมินภาวะขาดน้า ติดตามความรุนแรงในกรณีไข้เลือดออก ภาวะเลือดหนืด ( Polycythemia ) แนะนาให้ดื่มน้ามากๆ รักษาร่างกายให้อบอุ่น
ค่าต่ำกว่าปกติ
ติดตามประเมินภาวะการเสียเลือด (Hemorrhage) ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงภาวะโลหิตจาง และใช้ประกอบการประเมินภาวะขาดสารอาหารร่วมกับErythrocyte Indices โดยแนะนาและจัดโภชนาการให้เหมาะสม
การตรวจเกี่ยวกับ อิเลคโตรไลท์
Sodium (Na)
เป็นเกลือแร่ที่อยู่นอกเซลล์ในเลือดที่ทาหน้าที่หลายอย่าง
Potassium(K)
เป็นเกลือแร่ที่อยู่ในเซลล์ในเลือดที่ทาหน้าที่หลายอย่าง
3.Cholride(Cl)
เป็นเกลือแร่ที่พบนอกเซลล์ และ ในสมดุลน้าและเกี่ยวข้องกับสมดุลของเหลวเป็นสารจาเป็นที่ต้องมีอยู่ในน้าเลือด
Calcium(Ca)
เป็นองค์ประกอบของฟันและกระดูก
เป็นผู้สื่อข่าวที่สองภายในเซลล์และควบคุมการทางานของเอ็นไซม์ต่างๆ
กำหนดระดับการเกิดสัญญาณไฟฟ้า
Phosphorus(P)
เป็นเกลือแร่ที่มีอนุภาคที่เรียกว่าฟอสเฟต ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของกระดูกและฟัน และการหดตัวของกล้ามเนื้อ
6.Magnesium(Mg)
พบบ่อยในกระดูกและภายในเซลล์ ที่ช่วยในการขนส่งโพแทสเซียมและโซเดียมออกนอกเซลล์และกระตุ้นประสาท,กล้ามเนื้อและเอนไซม์