Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยทางศัลยกรรม, image, image,…
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยทางศัลยกรรม
บาดแผล การตกเลือด และการห้ามเลือด
แผลฟกชํ้า (Contused wound)
แผลถลอก (Abrasion wound)
แผลตัด (Incised or cut wound)
แผลฉีกขาด (Lacerated wound)
แผลถูกยิง (Gunshot wound)
แผลถูกแทง (Stab wound)
แผลไหม้ (Burn wound)
การช่วยเหลือและการรักษาเบื้องต้น
แผลฟกชํ้า ประคบเย็นทันที่ หลัง 24 ชม. ประคบอุ่น
แผลถลอก ล้างทำความสะอาด ซับให้แห้ง ใส่ยาฆ่าเชื้อ
แผลตัด ทำความสะอาด ห้ามเลือด เก็บชิ้นส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกแล้วแช่นํ้าแข็ง refer
แผลฉีกขาด ทำความสะอาด ห้ามเลือด แผลถูกยิง นอนนิ่ง NPO เปิดเส้นเลือด ให้ i.v. fluid ก่อนพิจารณา refer
แผลไหม้ ประคบเย็น ทำความสะอาดแผล การจัดการความปวด ระวังช็อก
อาการและอาการแสดง
ผิวหนัง หน้า ริมฝีปาก ฝ่ามือ เล็บ ซีด
เวียนศีรษะ หน้ามืด ตาลาย ใจสั่น หูอื้อ
เหงื่อออก ตัวเย็น ปลายมือ แลเท้าเย็น ซีด
ชีพจรเต้นเบา เร็ว
หายใจเร็ว ตื้น
หมดสติ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจเสียชีวิตได้
การช่วยเหลือและการพยาบาลเบื้องต้น
ห้ามเลือด
1.ใช้มือที่สะอาด/ ผ้าที่สะอาดกดลงบาดแผลโดยตรง
2.ใช้วิธีกดบนหลอดเลือดแดงใหญ่ที่มาเลี้ยงบริเวณแผล
3.วิธีการขันชะเนาะ คลายและขันใหม่ทุก ½ ชั่วโมง
ถ้ามีอาการเป็นลม หรือช็อก รักษาอาการเป็นลมและช็อก
ถ้ามีวัสดุชิ้นใหญ่ๆปักคาอยู่ อย่าดึงออก
ใช้ผ้าสะอาดปิดแผล และพันให้แน่น
กรณีสงสัยว่ามีการตกเลือดภายใน ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล
ไฟฟ้าช็อต ไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
ไฟไหม้
แผลไฟไหม้ระดับ 2
แผลไฟไหม้ระดับ 3
แผลไฟไหม้ระดับ 1-2
บาดเจ็บที่ศีรษะ
Glasgo Coma Score (GCS)
การลืมตา (Eye opening) 4 ระดับ
การออกเสียง (Best verbal response) 5 ระดับ
การเคลื่อนไหว (Best motor response) 6 ระดับ
พยาธิสรีรภาพ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก ( primary head injury ) เป็นการบาดเจ็บที่เกิดทันทีที่มีแรงกระทบต่ออวัยวะชั้นต่างๆ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง ( secondary head injury ) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังจากการบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก โดยใช้ระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง หรือเป็นวัน
อาการแสดงของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
Brain Concussionเป็นผลมาจากการที่สมองถูกกระแทกหรือถูกเขย่าอย่างแรง มักจะ ตามมาด้วยการไม่รู้สึกตัว บางครั้งรู้สึกตัวแต่มีอาการมึนงง อาการแสดงอย่างแรกคือปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ ขาดการรับรู้สิ่งแวดล้อม และคลื่นไส้ อาเจียน
Brain contusion ผู้ป่วยจะหมดสติหลังบาดเจ็บทันที อาจนานเป็นชั่วโมง เป็นวัน หรือ เป็นเดือน อาจมีอาการอัมพาตครึ่งซีก กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง ชัก ผู้ป่วยมักฟื้นคืนแต่อาจมีอาการ ปวดศีรษะ สับสน ปากเบี้ยว พูดไม่ชัดหรือพูดไม่ได้ บุคลิกภาพเปลี่ยนไปจากเดิมสักระยะืป็้
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก ( primary head injury )
ทำให้เกิดอันตรายต่อ
1.หนังศีรษะ (scalp)
บวม ชํ้า หรือโน ( contusion )
ถลอก ( abrasion )
ฉีกขาด ( laceration )
หนังศีรษะขาดหาย ( avulsion )
2.กะโหลกศีรษะ (skull)
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว ( linear skull fracture )
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน ( basilar skull fracture )
กะโหลกแตกยุบ ( depressed skull fracture )
กะโหลกแตกร้าวแต่ไม่มีหนังศีรษะฉีกขาด ไม่ต้องรักษา
กะโหลกแตกยุบ แต่ไม่มีหนังศีรษะฉีกขาด
3.สมอง (brain)
3.1 Focal brain injury
3.2 การบาดเจ็บทั่วไปของเนื้อสมองส่วนสีขาว ( diffused white matter injury )
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง ( secondary head injury )
Hematoma
Brain edema
IICP( ความดันในกะโหลกศีรษะสูง )
การพยาบาลในภาวะฉุกเฉิน Head injury
ประเมิน CABD
ประเมินสภาพทั่วๆไป เช่น Vital sign บาดแผล
การเตรียมยาที่มักใช้ในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
บาดเจ็บของทรวงอก
Open pneumothorax
Tension Pneumothorax
Flail chest & Lung contusion
ข้อเคล็ด, ข้อแพลง, กระดูกหัก
ข้อเคล็ด (Sprains) เป็นการฉีกขาดของเส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อที่อยู่รอบข้อ
ข้อเคลื่อน (Dislocations) หมายถึงภาวะที่ปลายกระดูกหรือหัวกระดูกที่มาชนกันประกอบขึ้นเป็นข้อ เคลื่อนออกจากตำแหน่งเดิม
อาการและอาการแสดง
เจ็บปวดบริเวณข้อนั้นๆ บวม แดง ร้อน
เมื่อมีการเคลื่อนไหวจะปวดมากขึ้น เคลื่อนไหวไม่ได้ หรือได้บางส่วน
ถ้าเป็นข้อเคลื่อน ข้อนั้นจะมีรูปร่างผิดไปจากเดิม
อาจคลำได้ปลายกระดูกที่เคลื่อนหลุด
การช่วยเหลือและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
ไม่ควรดึงให้เข้าที่เอง เพราะอาจจะทำให้ได้รับอันตรายมากขึ้น
ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ โดยอาจใช้ผ้าพยุงหรือดามไว้
พิจารณานำส่งโรงพยาบาล เพื่อการวินิจฉัยเพิ่มเติม
บาดเจ็บหลายระบบ (Multiple injury)
A : Airway with cervical spine protection
B : Breathing and ventilation
C : Circulation with controlled hemorrhage
D : Disability (neurological)
E : Exposure , Environmental controlled
กระดูกหัก (Fracture)
สาเหตุ
จากแรงกระแทกทางอ้อม
เกิดจากกล้ามเนื้อหดตัวหรือกระตุกอย่างแรง
จากแรงกระแทกโดยตรงต่อตัวกระดูก
เกิดจากพยาธิสภาพของตัวกระดูกเอง
อาการและอาการแสดง
บริเวณกระดูกหักจะปวดเจ็บมาก
อวัยวะที่หักมีรูปร่างผิดรูป
ถ้าลองขยับดูอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ
อวัยวะส่วนที่หักเคลื่อนไหวไม่ได้
บวม เขียว คลํ้า
อาจเห็นกระดูกโผล่ออกมา
การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหวน้อยที่สุด ดามหรือเข้าเฝือกชั่วคราว
ถ้ามีกระดูกหักโผล่ออกมาห้ามดันกลับ ให้ใช้ผ้าสะอาดปิดแผลไว้
ถ้ามีเลือดออกมาก ต้องห้ามเลือดก่อน
ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี และปวดมาก ให้ยาแก้ปวด
ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ช็อก รีบแก้ไขภาวะช็อคก่อน
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ต้องรีบช่วยการหายใจก่อน
เคลื่อนย้ายอย่างถูกวิธีด้วยความระมัดระวัง
สิ่งแปลกปลอมเข้า ตา หู คอ จมูก
สารเคมีเข้าตา
ลืมตาในนํ้าสะอาดและกรอกตาไปมา หรือล้างตาด้วย NSS
ป้ายตาด้วยยาป้ายตาปฏิชีวนะ
ให้ยาแก้ปวดถ้าปวดมาก
ไม่ควรปิดตา รีบส่งพบจักษุแพทย์
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
กรณีเป็นสิ่งมีชีวิต และเยื่อแก้วหูไม่ทะลุ ใช้นํ้ามันมะกอกหรือแอลกอฮอล์ 70% หรือ glycerine boraxหยอดเข้าหู เพื่อให้แมลงลอยขึ้นมา
ถ้ามองเห็นตัวแมลงอาจคีบออกได้
ล้างหู (ear irrigation) ด้วยนํ้าอุ่น
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
ลืมตาในนํ้าสะอาดและกรอกตาไปมา หรือล้างตาด้วย NSS
ตรวจหาสิ่งแปลกปลอม ใช้มุมผ้าสะอาด/ สำลี เขี่ยออก
ดึงหนังตาบนลงมาทับหนังตาล่าง
สิ่งแปลกปลอมติดที่ทางเดินอาหารส่วนต้น
สิ่งแปลกปลอมติดที่ทางเดินหายใจส่วนบน
Heimlich maneuver
นอนหงายกดท้อง กรณีหมดสติ
กรณีเด็กเล็ก นอนควํ่าบนตักศีรษะตํ่า ตบกลางหลังเบาๆ
สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก ส่วนใหญ่มักพบในเด็ก
ถ้ามองเห็นให้คีบออก โดยใช้ nasal forceps
ถ้ามองไม่เห็นและผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ ให้ส่งต่อ
บาดเจ็บจากการเล่นกีฬา (Sport injury)
2.กล้ามเนื้อบวม (Compartment syndrome)
3.กล้ามเนื้อฉีก (Strain)
1.ตะคริว (Cramp)
การปฐมพยาบาลและการรักษากล้ามเนื้อฉีก
ในระยะแรก 24-48 ชั่วโมง ให้ใช้หลัก “RICE”
I= Ice ใช้นํ้าแข็งประคบส่วนที่บาดเจ็บ ครั้งละ 20-30 นาที วันละ 2-3 ครั้ง
C= Compression พันกระชับส่วนนั้นด้วยผ้ายืด
R= Rest ให้พักโดยเฉพาะส่วนที่บาดเจ็บ
E= ยกส่วนที่บาดเจ็บให้สูงกว่าระดับหัวใจ
ในระยะที่สอง หลัง 24-48 ชั่วโมง ให้ใช้หลัก “HEAT”
A= Advanced exercise เพิ่มการบริหารมากขึ้น
T= Training for Rehabilitation เป็นการฝึกเพื่อช่วยการฟื้นฟูสภาพจากการบาดเจ็บให้กลับสู่สภาพปกติ
E= Exercise ลองขยับเบาๆ เป็นการบริหารส่วนที่บาดเจ็บ
H= Hot ใช้ความร้อนประคบ
นางสาวทิพย์สุดา สนิทพจน์ รหัสนักศึกษา 601410067-1