Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านกิจกรรมและการออกกำลังกาย,…
การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
การทำงานของระบบกระดูก
เป็นแกนเพื่อให้กล้ามเนื้อและเอ็นยึดเกาะ
ทำหน้าที่เปรียบเสมือนคาน
ช่วยออกแรงในการเคลื่อนไหว
การทำงานของกล้ามเนื้อ
การทำงานของระบบประสาท
การตอบสนองด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย
1)การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มพิสัยของข้อ (range of motion exercise)
การเคลื่อนไหวอย่างเต็มที่ของข้อต่อต่าง ๆ ในทิศทางเฉพาะของข้อต่อนั้น ๆ
ป้องกันการเกิดข้อติดแข็ง
เพิ่มการเคลื่อนไหวของข้อ
2) การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง และความคงทนของกล้ามเนื้อ
(exercise for strengthand endurance)
การออกกำลังกายแบบไอโซโทนิก
การออกกำลังกายแบบมีการหดตัวของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายแบบไอโซเมตริก
ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่แต่มีการเกร็งหรือการตึงตัวของกล้ามเนื้อเ
การออกกำลังกายแบบไอโซคีเนติก
กล้ามเนื้อจะทำงานอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงเวลาที่เคลื่อนไหว
การทรงตัว
ความมั่นคงและความสมดุลของร่างกายในทุกอิริยาบถ ไม่โอนเอียง
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไป ตามปกติ
ป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดอันตรายหรือมีความพิการของกระดูกและกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกิน
ท่าทรงตัวที่ดี
1)ท่ายืนที่ดี
การยืนตัวตรงในท่าที่สบาย
2)ท่านั่งที่ดี
ศีรษะยืดตรงไม่ก้มหรือเงย อกผาย หลังตรง
3)ท่านอนที่ดี
ลักษณะกระดูกสันหลังอยู่ในท่าที่ถูกต้องเช่นเดียวกับท่ายืน
การเคลื่อนไหว
ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการทำงานที่ต้องใช้กำลังมาก
ใช้น้ำหนักตนเองในการช่วยเคลื่อนย้ายวัตถุ สิ่งของ
ใช้การดัน การดึง หรือการหมุนผลักสิ่งของแทนการยก
หลีกเลี่ยงการยืดกล้ามเนื้อ หรือการบิดกล้ามเนื้อขณะเคลื่อนย้ายสิ่งของ
การยกสิ่งของให้อยู่ในท่าหลังตรง และย่อเข่า แทนการก้มหลัง
มีการหยุดพักเป็นช่วง ๆ ในระหว่างการทำกิจกรรม
. เคลื่อนไหวร่างกายอย่างนุ่มนวล ประสานกัน และเป็นจังหวะ
การจำกัดการเคลื่อนไหว
การจำกัดการเคลื่อนไหวอย่างสมบูรณ์
การจำกัดการเคลื่อนไหวเพียงบางส่วน
การจำกัดการเคลื่อนไหวเพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน
ความสำคัญของการจำกัดการเคลื่อนไหว
เพื่อส่งเสริมการหายของแผล
เพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายหรืออวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บเกิดความเสียหายเพิ่มขึ้น
เพื่อให้อวัยวะต่าง ๆ ทำหน้าที่น้อยลง ทำให้ร่างกายกลับสู่สภาวะปกติได้เร็วขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัด
การเคลื่อนไหว และการพยาบาล
5)ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย
มีความวิตกกังวลจาก การนอนอยู่เฉย
ฝึกการขับถ่ายอุจจาระ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาระบายหรือยาสวนอุจจาระ
3)ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
การคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
ใช้ผ้ายืดพันขาหรือสวมถุงน่องป้องกันเส้นเลือดขอดที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
กระตุ้นให้ดื่มน้ำบ่อย ๆ อย่างน้อย 2 ลิตร/ วัน
ไม่ควรบีบนวดขา
2)ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกเปราะบาง
การสลายตัวของกระดูกมากกว่าการสร้าง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
ไม่มีการยืดหรือหดตัวจะทำให้ความตึงตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวหรือออกกำลังกล้ามเนื้อ
เปลี่ยนท่านอนอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง
เลือกที่นอนให้เหมาะสม
1)ระบบผิวหนัง
เกิดแรงกดทับ
การเสียดทาน
แรงดึงรั้ง
ดูแลสภาพผิวหนังให้ชุ่มชื้น
ดูแลให้ได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
4)ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
กระตุ้นผู้ป่วยทำการบริหารการหายใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
สังเกตและบันทึกเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ช่วยให้ผู้ป่วยได้เคลื่อนไหวร่างกาย และพลิกตะแคงตัวบ่อย ๆ
7) ด้านจิตใจ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
กล่าวชมเชยในกิจกรรมที่ทำสำเร็จ
กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้าที่ 1