Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ (2), image, image, image, image,…
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ (2)
การตรวจทรวงอก และปอด
Chest landmark
เป็นเส้นสมมติกำหนดให้แนวทางและขอบเขตของทรวงอก ได้แก่
Mid Sternal Line (MSL) เส้นลำกในแนวดิ่งผ่านกลาง
sternum
Mid Clavicular Line (MCL) เส้นลากในแนวดิ่งผ่านจุด
กึ่งกลางกระดูกไหปลำร้า มี 2 เส้น ซ้ำย และขวำ
Anterior Axillary Line (AAL) เส้นลากใน แนวดิ่งผ่าน
รอยพับด้านหน้าของรักแร้มี 2 เส้น ซ้าย และขวา
Mid Axillary Line (MAL) เส้นลากในแนวดิ่งผ่านจุด
กึ่งกลางรักแร้ มี 2 เส้น ซ้ายและขวา
Posterior Axillary Line (PAL) เส้นลากใน
แนวดิ่งผ่านรอยพับด้านหลังของรักแร้มี 2 เส้น
ซ้าย และขวา
Vertebral Line เส้นที่ลากแนวดิ่งผ่านไปตามแนว
กระดูกสันหลัง
Scapular Line เส้นที่ลากในแนวดิ่งผ่านมุมแหลม
ด้ำนล่างของกระดูกสะบัก
anatomical landmark
เป็นจุดสำคัญที่ใช้ในการตรวจทรวงอกและปอด
หัวนม (nipple)
Angle of Louis
Suprasternal notch
Costal angle
Spinous process
กระดูกไหปลาร้า (clavicle)
Inferior angle of scapular
Costrovertebral angle (CVA)
Surface anatomy
เป็นตำแหน่งและการแบ่งกลีบปอด เพื่อให้ทราบตำแหน่งของปอดที่ทำการตรวจ
• ปอดกลีบบน (upper lobe)
• ปอดกลีบกลาง (middle lobe)
• ยอดปอด
• ขอบปอดด้านล่างหรือฐานปอด
การตรวจทรวงอกและปอด
การดู
สิ่งที่ต้องสังเกต คือ รูปร่างของทรวงอก ขนาด
ของทรวงอก การเคลื่อนไหวของทรวงอก และผิวหนัง
ภาวะผิดปกติ รูปร่างทรวงอกที่ผิดปกติ
. Kyphosis หรือหลังโกง
• Scoliosis หรือหลังคด
• Pigeon chest หรือ อกนูน
• Funnel chest หรืออกบุ๋ม
• Barrel shape หรือ อกถังเบียร์
รูปร่างของทรวงอก ภาวะผิดปกติ รูปร่างทรวงอกที่ผิดปกติ
2. การคลำสิ่งที่ต้องคลำ
คือ คลำส่วนต่ำงๆ ของทรวงอก คลำการขยายตัวของทรวงอก อาการสั่นสะเทือนของเสียงพูด หรือ tactile fremitus หรือ Vocal fremitus
3. การเคาะทรวงอก (ปอด)
การเคาะทรวงอกจะเปรียบเทียบเสียงที่เกิดจำกการเคาะ (percussion note) บนทรวงอก (ปอด)ทั้งสองข้าง เพื่อประเมินสภาพปอดที่อยู่ภายในการเคาะต้องให้นิ้วกลางอยู่ตำแหน่งที่ต้องการเคาะ วางนิ้วแนบขนานกับซี่โครง อยู่ในช่องซี่โครง (ไม่เคาะบนกระดูกซี่โครง) เมื่อเคาะแล้ว ยกมือนิ้วมือขึ้นโดยเร็ว การเคาะจะเริ่มจากยอดปอดลงล่าง เคาะซ้ายขวาระดับ เดียวกันเปรียบเทียบกัน
4. การฟัง
มีการปฏิบัติ 3 อย่าง คือ การฟังเสียงหายใจ
(breath sound) การฟังเสียงพูด ice sound) และการฟัง
เสียงผิดปกติ (adventitious Sound) การฟังปอดนิยมใช้หูฟังส่วน chest piece ทางด้านแผ่น ต้องจับหูฟังให้นิ่งและห้องที่ตรวจควรเงียบ ให้ผู้รับบริกำรหำยใจทางปากแรงกว่าปกติเล็กน้อย
การตรวจหัวใจ
การตรวจหัวใจ เป็นการประเมินการไหลเวียนที่ใช้เทคนิคทั้งการดู การเคาะ การคลำและ การฟังและมีการประเมิน
อาการแสดงอื่นประกอบด้วย เช่น อาการเขียว (cyanosis)อาการเหนื่อยหอบ
1. การดู
สังเกตสีผิว หลอดเลือดดำบริเวณทรวงอก และรูปร่าง ทรวงอกโดยเฉพาะบริเวณ precordium ลักษณะรูปร่างและตำแหน่งการเต้น
2. การคลำ
กำรคลำจะใช้ส่วนต่างๆของมือ
3. การเคาะ
เป็นการตรวจหาขอบเขตของหัวใจ ทำให้ทราบขนาดหัวใจ มักไม่ทำเป็นประจำ 3. กำรเคำะ เป็นกำรตรวจหำขอบเขตของหัวใจ ทำให้ทราบ
ขนาดหัวใจ มักไม่ทำเป็นประจำ
4. การฟัง
การฟังนิยมฟังบริเวณลิ้นหัวใจ (รูปที่ 4.38)
ตำแหน่งที่ใช้ฟังลิ้นหัวใจ ไม่ใช่ ตำแหน่งลิ้นหัวใจจริงๆ แต่เป็นตำแหน่งที่ได้ยินเสียงลิ้นหัวใจนั้นชัดเจนที่สุด ซึ่งอยู่ ณ ตำแหน่ง ต่าง ๆ
การตรวจหลอดเลือด
การตรวจหลอดเลือดดำที่คอ (Jugular vein) และหลอดเลือดส่วนปลkย จะใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การตรวจเต้ำนม
เทคนิคที่ใช้คือ การดูและการคลำ ตรวจเฉพาะผู้หญิง
และในผู้ที่มีข้อมูลที่แสดงถึงความผิด ปกติที่คาดว่า
อวัยวะเหล่านี้จะเกี่ยวข้อง การตรวจเต้านมจะแบ่งเต้านมออกเป็น 4 ส่วน
(1)upper outer
(2) lower inner
(3) lower outer
(4) lower inner
การตรวจรักแร้
การตรวจรักแร้เพื่อตรวจต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้ ใช้เทคนิคการดูและคลำ สังเกตสีผิวและการมีก้อนบริเวณรักแร้
ภาวะปกติ : คลำไม่พบก้อน คลำไม่พบต่อมน้ำเหลือง
ภาวะผิดปกติ : พบก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองขนาดใหญ่กว่าปกติ