Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้าย - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้าย
มิติการดูแลผู้ป่วยตามระยะการดำเนินโรค
Old concept --> New concept การรักษาที่ตัวโรค และการดูแบบประคับประคอง
เป้าหมายของการดูแลประคับประคอง
คือ การส่งเสริมให้บุคคลได้รับการดูแลตลอดกระบวนการของการตายที่เรียกว่า ตายดี (Good death) มีลักษณะ ดังนี้
1.ผู้ป่วยและครอบครัวยอมรับและเข้าใจ พร้อมปรับตัวเข้ากับความเจ็บป่วยได้
2.บรรเทาความทุกข์ทรมานจากอาการรบกวนและอาการปวด
3.มีคุณภาพชีวิตที่ดี
4.การปฏิบัติสอดคล้องกับวัฒนธรรม จริยธรรม
กลุ่มเป้าหมาย
2.กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขากและมีอาการเพิ่มมากขึ้นเรื่อย (Serious Illness) โรคเรื้อรังระยะสุดท้าย เช่น
COPD stage 4 Home oxygen therapy
CKD stage 5 มีระดับ PPS<40
Stroke รักษา 6 เดือนแล้วPPS<40
Heart failure (functional class 4) with home oxygen
โรคอื่นๆที่แพทย์พิจารณาเห็นว่ารักษาไม่หายและพยาธิสภาพโรคเสื่อมลง ร่วมกับ PPS<40 เช่น Dementia, Alzheimer, Spinal & cord disease, Paraplegia, Post fracture ในผู้สูงอายุ
3.กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life)
1.กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิด
การประเมินผู้ป่วยในการดูแลแบบประคับประคอง
การประเมินอาการรบกวน
การประเมินอาการปวด
การประเมิน PPS (Palliative Performance Scale)
การประเมิน 2 Q
Effective Communication with patients and families
การสื่อสารที่ดีเป็นหัวใจสำคัญของการดูแลแบบ Palliative ผู้ป่วยที่เข้าใจและประทัยใจในตัวผู้ให้บริการมีแนวโน้มที่จะยอมรับตความเจ็บป่วย เข้าใจ และร่วมมือในการรักษา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีกว่า
การบอกข่าวร้ายกับผู้ป่วย
1.เตรียมตัวเจรจา (Getting start)
2.สำรวจว่ารู้แค่ไหน (What does the patient knows)
3.ประเมินใจอยากรู้แน่ (How much the patient want to know)
4.เผยแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง (Sharing information)
5.ไม่ทอดทิ้งนิ่งดูดาย (Responding to patient and family)
6.นัดหมายไว้ภายหน้า
DABDA "Five stage of coping"
1.Denial (Shock)
2.Anger
3.Bargaining
4.Depression
5.Acceptance
Physical Symptoms
อาการทางกายสามารถคาดเดาได้ล่วงหน้า ต้องประเมินคัดกรองสม่ำเสมอ เพื่อจัดการได้ทันที
อาการที่พบบ่อย ได้แก่ อ่อนเพฃีย ปวด หายใจลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหลักลด เพ้อ
อาการต่างๆ มักเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกัน ต้องประเมินทุกมิติไปพร้อมกัน
Psychological symptoms
Emotional distress เป็นผลจากความกลัวและความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของการดำเนินโรค การเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ของตน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ลดลง ขาดงาน ขาดรายได้ ขาดความเขื่อมั่นในตนเอง
Spirituality แสดงออกใน 3 มิติ
การรับรู้ (Cognitive aspects)
ประสบการณ์และอารมณ์ (Experiential & emotional aspects)
พฤติกรรมที่แสดงออก (Behavioral aspects)
Spiritual suffering/Crisis
ภาวะวิกฤติทางจิตวิญญาณ
เกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถหาหลักพึ่งพิงได้ในการให้ความหมายของชีวิต ความหวัง ความรัก ควาสงบภายใน หรือเมื่อมีความขัดแย้งระหว่างความเชื่อกับสื่งที่กำลังเกิดในชีวิต
Formal assessment
การประเมินโดยใช้ข้อคำถาม ร่วมไปกับการประเมินด้านอื่นในระบบ routine เพื่อให้ได้ข้อมูลด้านความเชื่อและการปฏิบัติและประเมินว่าสิ่งนั้นมีบทบาทหรือโอกาสในการเยียวยาผู้ป่วยหรือไม่
Informal assessment
ประเมินได้ทุกเวลาเมื่อโอกาสอำนวย การฟังเป็นเครื่องมือสำคัญ
คนไข้มักแสดงออกได้ดยการเล่าเรื่องซึ่งแฝงไปด้วยข้อมูลด้านจิตวิญญาณ
ทำให้เราเข้าใจได้ว่าความเข้มแข็งทางจิตวิญญาณของผู้ป่วยเป็นอย่างไร มี Spiritual suffering หรือไม่
The HOPE Questions
H: Source of hope, meaning, comfort, strength, peace, love, and connection
O: Organized religion
P: Personal spirituality and practices
E: Effect on medical care and end-of-life issues
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
มองให้เห็นและตอบสนอง
มีความกรุณา
อยู่กับปัจจุบันขณะ
ฟังอย่างตั้งใจ
สนับสนุนความหวัง (ที่ไม่เกินจริง)
ไม่จำเป็นต้องพูดคุยเรื่องพระเจ้าหรือศาสนา
สรีริทยาในระยะเผชิญความตาย
ความอ่อนเพลีย
ความเบื่ออาหาร
ดื่มน้ำน้อบยลง
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด
การหายใจลำบาก หายใจมีเสียงดัง
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท