Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4การประเมินภาวะสุขภาพการวิเคราะผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ -…
บทที่4การประเมินภาวะสุขภาพการวิเคราะผลทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
White blood cell leukocytyเซลล์เม็ดเลือดขาวลิวโคไซน์
ภาวะที่เกี่ยวข้อง
ค่ำสูงกว่ำปกติ: ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน(Acute infection)
โรคเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือด(Circulatory disease) การตกเลือด( Hemorrhage)
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia), Malignant disease, Necrosis, Trauma
การได้รับยาบางชนิด การผ่าตัด
ค่าต่ำกว่าปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน(Acute leukemia) , โรคเบาหวาน(Diabetic), ไข้มาลาเรีย(Malaria), ผู้ที่ได้รับรังสีรักษา(Radiation),ติดเชื้อไวรัส (Viral infection)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การออกกำลังกายที่หนักหน่วง มีภาวะเครียดอาจทำให้WBC เพิ่มขึ้นชั่วคราว
ยากลุ่ม Bone marrow depressant
อาจลดจำนวน WBC ได้
การพยาบาล
คอยสังเกตและบันทึกอาการการติดเชื้อ
ป้องกันผู้ป่วย ไม่ให้เกิดเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ(Leukopenia)
จากการติดเชื้อ จนกว่าร่างกายจะไม่มีปัญหาติดเชื้อ
ประเมินสังเกตติดตาม และบันทึกปัจจัยต่างๆที่ทำให้เพิ่มหรือลด
จำนวน WBC ได้
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดขาว
Red blood cell,
Erythrocytes
Hematocrit
Hemoglobin
การตรวจเกี่ยวกับเลือดหาความสมบูร์ของเม็ดเลือดCBC
เพื่อตรวจสุขภาพโดยทั่วไปหาโรคเรื้อรังเกี่ยวกับเลือดชนิดใด หรืออวัยวะใด
เพื่อตรวจวินิจฉัยว่ามีแนวโน้มเป็นโรคโลหิตจาง(Anemia) และเฝ้าตรวจและติดตาม
ผลการรักษา
เพื่อตรวจบ่งชี้สภาวะการอักเสบใดๆทั่วทั้งร่างกาย
เพื่อตรวจวิเคราะห์ในการวินิจฉัยและการรักษา เช่น การได้รับยาเคมีบำบัด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การพยาบาล
ถ้าค่าลดลงหมายถึงโลหิตจางพยาบาลควรประเมินเฝ้าระวังอาการ
ประเมินประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการติดเชื้อ อาจมี
ผลท าให้ RBC ลดลง
ประเมินเกี่ยวกับการตกเลือด เลือดออกเฉียบพลัน
White blood cell
,Leukocyte
Eosinophil
Band
Basophil
Lymphocyte
Monocyte
Neutrophil
Hemoglobin
การแปลผล
เพศชาย : 13-17 mg/dl
เพศหญิง : 12-15 mg/dl
ปัจจัยที่ทำให้ค่า
คลาดเคลื่อน
การเจาะตัวอย่างเลือดในแขนที่กำลังให้สารละลายทางหลอดเลือดดำอาจท าให้ค่า
คลาดเคลื่อนหรือถ้าหากมีการให้ packed red cells กับผู้ป่วย จะท าให้ปริมาณของ
เซลล์เม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นมากขึ้น การเจาะเลือดใช้เวลาอาจท าให้เม็ดเลือดแตก
การพยาบาล
ระดับฮีโมโกลบินที่ลดลง
ระดับฮีโมโกลบินสูง
Hematocrit
กำรพยาบาล
ค่ำสูงกว่ำปกติ: ติดตามประเมินภาวะขาดน้ า ติดตามความรุนแรงในกรณีไข้เลือดออก ภาวะเลือดหนืด ( Polycythemia ) แนะน าให้ดื่มน้ามากๆ รักษาร่างกายให้อบอุ่น
ค่าต่ำกว่าปกติ : ติดตามประเมินภาวะการเสียเลือด (Hemorrhage) ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงภาวะโลหิตจาง และใช้ประกอบการประเมินภาวะขาดสารอาหารร่วมกับErythrocyte Indices โดยแนะน ำและจัดโภชนาการให้เหมาะสม
การแปลผล
เพศชาย : 38-50%
เพศหญิง : 36-45 %
Read biood cell erythrocytes
เม็ดเลือดเเดงอิเล็คโตไรด์
บทบาท
หน้าที่ในขนส่งออกซิเจนจากปอดด้วยวิธีการให้ออกซิเจนจับที่บริเวณผิวของเม็ด
เลือดแดง ส่งให้ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย โดยจะมีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ภาวะที่
เกี่ยวข้อง
ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่ำต่ ำกว่ำปกติ : เกิดภาวะโลหิตจาง(Anemia), ตกเลือด(Bleeding), ภาวะไตวายเรื้อรัง
(Chronic Renal failure)
ค่าสูงก่าวปกติ
ค่ำสูงกว่ำปกติ: แสดงถึงภาวะของโรคมะเร็งหรือโรคไต Renal cell carcinoma หรือโรคเลือด(Polycythemia vera) อาจเกิดจากภาวะขาดน้ า(Dehydration)โดยมีผลท าให้จ านวนเม็ดเลือดแดงต่อน้ าเลือด 1 ลบ.มม. มีระดับl^’-7hozbfxd9b
Red bood cell cunt RBC
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่า
การพยาบาล
ErythrocyteIndices ดัชนีเม็ดเลือดแดง
Mean Corpuscular
Hemoglobin(MCH)
Mean Corpuscular Hemoglobin
Concentration
Mean Corpuscular Volume
(MCV)
Red cell distribution
width (RDW)
การตรวจอิเลคโตรไลท
Calcium(Ca)
6.Magnesium(Mg)
3.Cholride(Cl)
Potassium(K)
Sodium (Na)
Phosphorus(P)