Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การบริหารยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 11 การบริหารยาในผู้สูงอายุ
Pharmacokinetics
ความหมาย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของยาที่เกิดจาก
ระบบต่างๆในร่างกายกระทำต่อยา
การดูดซึม
ค่าความเป็นกรดในกระเพาะอาหารลดลง
อาหารผ่านกระเพาะอาหารช้าลง
เลือดไปเลี้ยงทางเดินอาหารลดลง
การเคลื่อนไหวของลำไส้ช้าลง
พื้นที่ผิวในการดูดซึมยาลดลง
การหลั่งกรดและน้ำย่อยในทางเดินอาหารลดลง
การกระจายตัว
ไขมันสะสมในอาหารในร่างกายมากขึ้น
จำนวนโปรตีนอัลบูมินในเลือดลดลง
มีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆลดลง
มีเลือดไปที่ตับและไตน้อยลง
จำนวน alpha1-acid glycoprotein เพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสภาพยา
ขนาดของตับลดลง
เลือดที่ไหลเวียนผ่านตับลดลง
การทำงานของเอนไซม์ต่างๆลดลง
การกำจัดยา
ค่า creatinine clearance ลดลง
ค่า glomerular filtration ลดลง
มีเลือดมาที่ไตน้อยลง
มีประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยไตลดลง
Phamacodynamic
ความหมาย
เกี่ยวข้องทั้งผลทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยาเป็นกระบวนการที่ยา
จะทำกับร่างกาย ซึ่งได้แก่ กลไกการออกฤทธิ์ของยา ทั้งที่เป็นผล
ต่อการรักษาและผลอันไม่พึงประสงค์ของยา
Dopaminergic system
Dopamine receptors ชนิด D2 ลดลงใน striatum
Cholinergic system
เอนไซม์ choline acetyltransferase ลดลง
จำนวน cholinergic cells ลดลง
Adrenergic system
การสร้าง cAMP ลดลงเมื่อถูกกระตุ้นด้วย
Beta-adrenergic agonists
จำนวน beta-adrenoreceptors ลดลง
beta receptor affinity ลดลง
การตอบสนองของ alpha2-adrenoreceptor
ลดลง
Gabaminergic system
psychomotor performance ลดลงเมื่อ
ตอบสนองต่อbenzodiazepines
การตอบสนองต่อ GABA ของ
postsynaptic receptor ลดลง
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดอาการ
ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในผู้สูงอายุ
Cardiovascular drugs : เกิดการสะสมของยาและเกิดพิษ
Diabetes drugs : ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
Gastrointestinal drugs : เกิดการสะสมของยาและเกิดพิษ
เซื่องซึม สับสน
Nonsteroidal anti-inflammatory drugs : โรคกระเพาะ
แผลเปปติก และเลือดออกจากกระเพาะอาหารและลำไส้
Psychotropic drugs : กระสับกระส่าย นั่งนิ่งๆไม่ได้
Antimicrobial drugs : เกิดพิษกับไตและอวัยวะอื่นๆ
Drugs used in Alzheimer’s disease : อาจทำให้
cholinergic และ neurons ตายหรือถูกทำลาย
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยากับยา
และยากับอาหารในผู้สูงอายุ
ยากับยา
Aspirin ถ้าได้รับร่วมกับ Heparin, Warfarin จะทำให้เกิด
ผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ นั่นคือภาวะเลือดออกไม่หยุด
ยากลุ่ม Cardiac glycosides ถ้าได้รับร่วมกับยา Quinidine
จะทำให้ได้รับสารพิษจากยา Cardiac glycosides มากขึ้น
ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะ
ยากับยากับอาหาร
ผู้สูงอายุที่ได้รับยากลุ่ม beta blocker ควรหลีกเลี่ยงการดื่มชา กาแฟเพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของยา
ลดลง และทำให้เกิดอาการหัวใจเต้นเร็วได้
พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง
: ผู้สูงอายุจัดหายามาใช้เอง
เพื่อรักษาโรคบรรเทาอาการหรือบำรุงสุขภาพ
โดยให้ไปซื้อหายาจากร้านขายยาเอง
การใช้ยาตามคำสั่งแพทย์
: ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วย
ให้ความร่วมมือในการใช้ยาเนื่องด้วยเหตุผล
เพื่อการรักษาให้เป็นไปตามคำสั่งของแพทย์
หากความร่วมมือในการใช้ยา
ปัญหาการใช้ยาของผู้สูงอายุ
ปฏิกิริยาอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนทางยา
ความไม่ร่วมมือในการรักษา
การบริหารยาแก่ผู้สูงอายุ
ควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
ความจำเป็นที่ต้องใช้ยา
ให้การวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ขนาดของยาที่ต่ำเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง
ทางสรีระวิทยาในการออกฤทธิ์ของยา
ต้องมีผลดีต่อการรักษา
รูปแบบของยาที่เหมาะสม
ผลข้างเคียงหรือวิชาที่ไม่พึงประสงค์
ต้องให้ความระมัดระวัง
ปฏิกิริยาต่อกันของยา
ความชัดเจนของการอธิบายเกี่ยวกับ
การใช้ยาที่ถูกวิธีรวมทั้งการเก็บรักษา
ไม่ควรให้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
การพยาบาลเพื่อบริหารยาในผู้สูงอายุ
ประเมินสภาวะของผู้สูงอายุทางด้านร่างกาย
จิตใจ จิตวิญญาณและเศรษฐกิจ
พยาบาลควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยและครอบครัวเห็นความสำคัญ
ของการใช้ยาที่ถูกวิธี และตรงตามแผนการรักษา
อธิบายถึงจุดประสงค์ของการใช้ยาแต่ละชนิด
อธิบายถึงความจำเป็นของการใช้ยาตามแผนการรักษา
สังเกตฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์
จากยาเพื่อช่วยเหลือได้ทันที
ให้รับประทานยาต่อหน้าและให้ดื่มน้ำมากๆ
เพื่อให้ยาดูดซึมได้ดี