Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pleural effusion ภาวะมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด - Coggle Diagram
Pleural effusion ภาวะมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
การวินิจฉัย
ทฤษฎี
การถ่ายภาพปอดด้วยเอกซเรย์ หรือเอกซ์คอมพิวเตอร์
การตรวจเสมหะและ/หรือการเพาะเชื้อจากเสมหะ
เพื่อดูการติดเชื้อ การตรวจเสมหะทางเซลล์วิทยา (เพื่อการวินิจฉัยโรคมะเร็ง)
ตรวจร่างกาย
การฟังเสียงหายใจ (ซึ่งจะลดลง หรือหายไปขึ้นกับปริมาณน้ำ/ของเหลว)
การเจาะดูดน้ำ/ของเหลวจากช่องเยื่อหุ้มปอด
เพื่อการตรวจหาสารต่างๆ เช่น สารมะเร็ง สารก่อการอักเสบ หาเชื้อโรคหรือเซลล์มะเร็งและอาจร่วมกับการส่องกล้องตรวจหลอดลม (Broncho scope)
ซักประวัติอาการ
ประวัติอาการต่างๆทั้งอดีตและปัจจุบัน
ผู้ป่วย
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ CT chest พบ Hydro-pneumothorax
ทำ pleural tapping 3 ครั้ง
ตรวจร่างกายฟังเสียงการหายใจพบ Lung decrease breath sound lift lung
U/S Chest Left Pleural effusion
ตรวจ AFB ผล not found
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
ทฤษฎี
ชนิด Transudate
โรคปอด ที่ส่งผลให้เกิดภาวะปอดแฟบไม่ขยายตัว
การล้างไตผ่านทางช่องท้อง
โรคตับเรื้อรัง เช่น โรคตับแข็ง โดยเฉพาะระยะที่ส่งผลให้มีโปรตีนในเลือดต่ำ
โรคอื่นๆที่พบได้น้อย เช่น โรคลิ้นหัวใจตีบ โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ หัวใจล้มเหลวจากภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมนอย่างรุนแรง
ภาวะหัวใจล้มเหลว โดยเฉพาะเมื่อเกิดจากการล้มเหลวของหัวใจห้องล่างซ้าย
ชนิด Exudate
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งชนิดอื่นแล้วแพร่กระจายสู่ปอด
โรคปอดบวมติดเชื้อ โดยเฉพาะจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคจากมีการอุดกั้นของหลอดเลือดปอด (Pulmonary embolism)
วัณโรคปอด
โรคอื่นๆที่พบได้น้อย
ท่อน้ำเหลือง หรือหลอดเลือดในปอดได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
มีการทะลุของหลอดอาหาร
โรคตับอ่อนอักเสบชนิดที่รุนแรง
โรคออโตอิมูน/โรคภมิแพ้ตนเอง เช่น โรคเอสแอลอี (SLE) โรคข้อรูมาตอยด์
ปอดหรือเยื่อหุ้มปอดติดเชื้อรา
การแพ้ยาต่างๆ
ผู้ป่วย
ชนิด Exudate
ผุ้ป่วยเป็นมะเร็งที่ปอด (CA Lung )
การพยาบาล
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพ อย่างน้อยทุกๆ 1 ชั่วโมง โดยให้ผู้ป่วยวางฝ่ามือใต้ชายโครงให้ชิดขอบชายโครงผู้ป่วยแล้วสูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ เนื่องจากการหายใจเข้าออกอย่างเต็มที่จะช่วยให้ปริมาตรของปอดมากขึ้น พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนก็จะมากขึ้นด้วย
วางแผนการทำกิจกรรมการพยาบาล เพื่อแบ่งช่วงให้ผู้ป่วยได้พัก พร้อมทั้งอธิบายถึงสาเหตุที่ต้องจำกัดกิจกรรมของผู้ป่วย เพื่อช่วยลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
ติดตามผลเอ็กซเรย์ปอดเพื่อประเมินการขยายตัวของปอด (Lung expansion) ภาวะน้ำคั่งในช่องเยื่อหุ้มปอด(Pleural effusion) การมีของเหลวแทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อปอด(Infiltration) ซึ่งอาจทำให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอดลดลงได้
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง และประเมินค่าความอิ่มตัวของออกซิเขนในเลือด (O2 sat)
ดูแลให้อยู่ในท่า Foeler's position เพื่อให้ปอดสามารถขยายตัวได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะทำให้มีการแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดี
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกถึงภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน เช่นปลายมือปลายเท้าเย็น ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง อาการกระสับกระส่าย การตอบสนองลดลง
ประเมินเสียงลมหายใจผ่านเข้าไปในปอด เนื่องจากการลดของเสียงลมที่ผ่านปอด เป็นข้อบ่งชี้ว่าเกิดการแฟบของปอด (Lung collapse)
ประเมินอัตราการหายใจ ความลึก การใช้กล้ามเนื้ออื่นๆ ช่วยในการหายใจ และภาวะ Cyanosis เพื่อเป็นการประเมินความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน
การรักษา
ทฤษฎี
การรักษาตามสาเหตุ
การให้ยาต้านไวรัสเมื่อน้ำ/ของเหลวเกิดจากปอดอักเสบ ปอดบวมจากติดเชื้อไวรัส
การรักษาควบคุมโรคออโตอิมูนเมื่อสาเหตุเกิดจากโรคนี้
การให้ยาปฏิชีวนะเมื่อน้ำ/ของเหลวเกิดจากปอดอักเสบ หรือปอดบวมจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
การรักษาประคับประคองตามอาการ
การให้ออกซิเจน
การให้สารน้ำ/อาหารทางหลอดเลือดดำ
งดการออกแรง
การให้ยาบรรเทาอาการไอ ยาช่วยละลายเสมหะ
การเจาะ/ดูดน้ำ/ของเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด
ผู้ป่วย
.ให้ออกซิเจน = O2 cannular 3 LPM
ได้รับยาบรรเท่าอาการไอ Bromhexine 1x3 oral p.c.
ได้รับการทำ Puleral tapping และ on ICD ที่ปอดด้านซ้าย
การให้ยาปฏิชีวนะ
Cef-3 2 gm OD
อาการ
ทฤษฎี
เกิดตามสาเหตุ จะแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน
ก้อนเนื้อในเต้านมเมื่อเกิดจากโรคมะเร็งเต้านม
ตัว ตาเหลือง เมื่อเกิดร่วมกับโรคตับแข็ง
ผื่นขึ้นในผู้ป่วยโรคออโตอิมูน/โรคภูมิต้านตนเอง
เท้าบวมร่วมกับหัวใจเต้นเร็ว เหนื่อยง่าย เมื่อเกิดจากโรคหัวใจ
มีไข้ ไอ มีเสมหะ เมื่อเกิดจากปอดบวม
จากการมีน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด
หายใจเร็วผิดปกติ
แน่นหน้าอก
หายใจลำบาก/หายใจหอบเหนื่อย
นอนราบแล้วหายใจไม่ได้ ต้องนั่งหรือนอนศีรษะสูง
สะอึก
เจ็บหน้าอก
ไอเรื้อรัง
ผู้ป่วย
อาการที่เกิดตามสาเหตุ
ผู้ป่วยไอ มีเสมหะ
ฟังปอด พบ drcrease breath sound Lt Lung
ผู้ป่วยมีขาบวม 2 ข้าง กดบุ๋ม 2+
อาการจากมีน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด
U/S Chest Left Pleural effusion
หายใจเนื่อย O2 sat Room Air = 92 %
นอนราบไมได้
พยาธิสรีรวิทยา
ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัยต้องอยู่ในสมดุล ปริมาณน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดจึงจะอยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่ถ้ามีการเสียสมดุลของปัจจัยทั้ง 2 นี้ด้วยสาเหตุอะไรก็ตาม เช่น มีน้ำ/ของเหลวซึมผ่านหลอดเลือดดำ/ร่างกายได้ ก็จะส่งผลให้เกิดภาวะมีน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด
โดยทั่วไป การจะมีน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดที่จะตรวจพบได้จากการถ่ายภาพปอดด้วยเอกซเรย์เทคนิคเฉพาะ คือถ่ายภาพในท่านอนตะแคงด้านที่สงสัยมีความผิดปกติ (Lateral decubitus)ปริมาณน้ำ/ของเหลวต้องมีปริมาณตั้งแต่50มิลลิลิตรขึ้นไป ทั้งนี้การถ่ายภาพเอกซเรย์เทคนิคปกติ (ถ่านในม่ายืน) จะสามารถตรวจได้ว่ามีน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด มักจะต้องมีปริมาณน้ำอย่างน้อยประมาณ 200-300 มิลลิลิตรขึ้นไป ซึ่งเป็นปริมาณที่จะส่งผลให้ผู้ป่วยเริ่มเกิดอาการผิดปกติด้วย เช่น เหนื่อยง่ายเมื่อต้องออกแรง เป็นต้น
ปริมาณน้ำ/ของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดจะถูกควบคุมด้วย 2 กลไกลสำคัญ คือ จากความดันในหลอดเลือดของเยื่อหุ้มปอดทั้ง 2 ชั้น ซึ่งจะส่งผลให้มีน้ำ/ของเหลวซึมผ่านผนังหลอดเลือดเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอด และการดูดวึมน้ำ/ของเหลวของระบบน้ำเหลืองกลับเข้าสู่หลอดเลือดดำของเยื่อหุ้มปอด และเข้าสู่ร่างกายตามลำดับ