Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
subtrochanteric fracture right femur กระดูกต้นขาขวาหัก - Coggle Diagram
subtrochanteric fracture right femur กระดูกต้นขาขวาหัก
ข้อมูลส่วนตัว
ผู้ป่วยเพศ
ชาย
อายุ
67 ปี
เชื้อชาติ
ไทย
สัญชาติ
ไทย
ศาสนา
พุทธ
สิทธิค่ารักษาพยาบาล
สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การวินิจฉัยโรคในปัจจุบัน
subtrochanteric fracture right femur กระดูกต้นขาขวาหัก
การผ่าตัด
Revision THA right hip การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมใหม่
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ปวดสะโพก 5 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
TKA both knee right moore hemiarthroplasty การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม , THA Right ผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
5 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยขับรถจักยานยนต์ล้ม สะโพกข้างขวากระแทก ปวดสะโพกมากจึงไปหาหมอที่คลินิค กินยาคลายกล้ามเนื้อ แก้อักเสบ อาการไม่ดีขึ้น เริ่มเดินไม่ไหวจึงรีบมาโรงพยาบาล
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการเคลื่อนหลุดของข้อสะโพกเทียมเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
S = ผู้ป่วยบอกว่าไม่รู้จะปฏิบัติตัว
O = ชอบนอนโดยขาทั้ง 2 ข้างทับซ้อนกัน
O = นอนโดยเอาขาและเท้าข้างที่ On traction บิดไปทางด้านข้าง
O=ชอบลุกขึ้นนั่ง
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการเคลื่อนหลุดของข้อสะโพก
เกณฑ์การประเมินผล
-ข้อเทียมอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง
-ขาและข้อสะโพกไม่บิดผิดรูป
-ไม่เกิดการเคลื่อนหลุดของข้อสะโพก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะการเคลื่อนหลุดของข้อสะโพกเทียม ได้แก่ ขาผิดรูปความยาวของขาทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน
2.จัดท่านอนให้ถูกต้องโดยขาข้างที่ทำผ่าตัด ในท่ากางขาออกประมาณ 30 องศาเสมอ
ป้องกันข้อสะโพกหมุนออกด้านนอกลำตัว (External rotation) โดยใช้ถุงทรายหรือผ้าม้วนที่มีน้ำหนักวางบริเวณด้านข้างของสะโพกและต้นขาทั้ง 2 ข้างถึงปลายเท้า
พลิกตะแคงตัวโดยใช้เทคนิค Log rolling method he พลิกตะแคงตัวในลักษณะที่พลิกไปทั้งตัวเหมือนท่อนไม้
5.กระตุ้นให้อยู่ในท่าขาเหยียดตรงและพยายามขยับนิ้วเท้า
แนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องหลังผ่าตัดโดยหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
O= มีแผลผ่าตัดบริเวณขาข้างขวา
O= neutrophil สูง
วัตถุประสงค์
ไม่กิดการติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมินผล
vital sign ปกติ
ไม่เกิดการติดเชื้อ
แผลไม่ปวดบวมแดง
neutrophil = 43- 65 %
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ Cefazolin 1 gm. IV q 6 hr ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อป้องกันการเกิดการติดเชื้อ
3.ประเมินอาการปวดเพื่อให้ทราบระดับความเจ็บปวดโดยการให้คะแนนความปวด (Pain Score) พร้อมทั้งให้การพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงและสังเกตอาการผิดปกติต่างๆเพื่อประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกายเช่นมีอาการปวดบวมแดงร้อนมีไข้ขึ้นสูงอุณหภูมิร่างกาย> 37.5 องศาเซลเซียสชีพจร> 100 ครั้ง / นาทีและเบาเร็วหายใจเร็ว> 20 ครั้ง / นาที
ทำแผลโดยใช้หลัก aseptic technique
ดูแลความสะอาดจัดหาอุปกรณ์การเช็ดตัวและให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลทำความสะอาดร่างกายให้เพื่อลดการหมักหมมของเชื้อโรคป้องกันการติดเชื้อได้
สังเกตสีกลิ่นและปริมาณเลือดที่ออกจากแผล รวมถึงการซึมของแผล
แนะนำให้ผู้ป่วยและญาติดูแลความสะอาดของแผล ไม่ให้แผลเปียกน้ำ
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหวขณะเข้า traction
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดแผลกดทับ
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีรอยแดงตามปุ่มกระดูก
ไม่เกิดแผลกดทับ
-ข้อมูลสนับสนุน
S=ผู้ป่วยบอกเริ่มมีรอยแดงบริเวณด้านหลัง
O=มีรอยแดงและรอยถลอกเล็กน้อยบริเวณปุ่มกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ใช้หมอนรองบริเวณปุ่มกระดูกเมื่อผู้ป่วยเข้า traction กระตุ้นให้ลดแรงกดบริเวณกันโดยชันเข่าขึ้นแล้วยกก้นหรืออาจใช้บาร์ที่อยู่เหนือศีรษะช่วยในการยกก้นขึ้นและออกกำลังกายเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือดและไม่ให้เกิดการกดทับที่ผิวหนังตลอดเวลาสำหรับผู้ป่วยสูงอายุที่เข้า skin traction ที่ขาที่ประเมินแล้วมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผลกดทับให้นอนบนนอนลมจัดท่านอนให้ผู้ป่วยนอนตะแคงสลับกับนอนหงายทุก 2 ชั่วโมง
ใช้อุปกรณ์เสริมเพื่อลดแรงกดทับเช่นใช้ที่นอนลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในระดับปานกลางและสูงใช้หมอนนุ่ม ๆ รองบริเวณปุ่มกระดูก
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับตั้งแต่เริ่มเข้า traction อย่างต่อเนื่อง
ลดความเปียกชื้นของผิวหนังโดยทำความสะอาดผิวหนังแล้วเช็ดให้แห้งดูแลไม่ให้ผิวหนังเปียกชื้นจากเหงื่อปัสสาวะอุจจาระและสิ่งขับหลั่งต่างๆจากแผลถ้าไม่สามารถควบคุมการเปียกชื้นได้ควรใช้วัสดุรองช่วยซึมซับความเปียกชื้นเช่นผ้ารองกันผ้าอ้อมต่อกันเป็นต้นและใส่เสื้อผ้าที่เนื้ออ่อนนุ่มไม่ระคายเคืองต่อผิวหนังและเปลี่ยนเสื้อผ้าเมื่อมีความเปียกชื้น
เจ็บปวดเฉียบพลันเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บจากการผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่มีอาการปวดแผลหรืออากการปวดลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส
ผู้ป่วยพักผ่อนได้เพียงพอ
ระดับความปวดลดลงน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 คะแนน
ข้อมูลสนับสนุน
S= ผู้ป่วยบอกปวดนอนไม่หลับ
O=สีหน้าไม่ยิ้มแย้ม
S= ผู้ป่วยบอกปวดระดับ 7 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความเจ็บปวดโดยใช้แบบประเมินความปวด Numerical rating scale โดยให้ผู้ป่วยตอบคำถามว่าผู้ป่วยมีความปวดขนาดไหนจากคะแนน 0 คือไม่ปวดเลยถึง 10 คือปวดมากที่สุด
ประเมินอาการที่แสดงต่อความเจ็บปวดเช่นสีหน้าคำพูดท่าทางที่แสดงถึงความเจ็บปวด
สอนให้ใช้เทคนิคผ่อนคลาย (Relax ation technique) เช่นการบริหารการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ (Deep breathing exercise)
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาและ observe อาการข้างเคียงหลังจากได้รับยา Tramal 50 mg IV ทุก 6 hr.
แนะนำให้ทำกิจกรรมที่ชอบและเหมาะสมตามพยาธิสภาพของโรค
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนเพียงพอโดยดูแลเรื่องแสงไฟและทำหัตถการในคราวเดียวกัน
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุผลัดตกหกล้มเนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงค์
เพื่อไม่เกิดอุบัติเหตุตลอดระยะเวลาที่นอนรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาล
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีรอยฟกช้ำ เพิ่มขึ้น
ไม่เกิดอุบัติเหตุ/พลัดตกหกล้ม
ข้อมูลสนับสนุน
S =ผู้ป่วยบอกเคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่เต็มที่จากการ on skin traction
O= ชอบยื้อหยิบของข้างเตียง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินปัจจัยที่ส่งเสริมทำให้ผู้ป่วยเกิดอุบัติเหตุ เพื่อค้นหาปัจจัยส่งเสริมทำให้เกิดอุบัติเหตุ และนำไปวางแผนการพยาบาลต่อไป
ยกร้าวกั้นเตียงทั้งสองขึ้นทุกครั้งหลังทำหัตถการ ล็อกขาที่เตียงตลอดเวลา เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุของผู้ป่วย
3.วางสิ่งของเครื่องใช้ไว้ใกล้มือและจัดแสงสว่างให้เพียงพอ
4.แนะนำให้ผู้ป่วยระมัดระวังในการเคลื่อนไหว
5.ดูแลกระตุ้นให้ผู้ป่วยกระดกปลายเท้าขึ้นลง และขยับแขนขาแบบไม่ขัดกับพยาธิสภาพของโรค
6.แนะนำให้ญาติคอยช่วยเหลือผู้ป่วยหากผู้ป่วยต้องการหยิบอะไรเพื่อลดความเสี่ยงต่อการพลัดตกเตียงหรือเกิดอุบัติเหตุ
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 67 ปี รับมาวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 มีความรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดสะโพก 5 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยขับรถจักยานยนต์ล้ม สะโพกข้างขวากระแทก ปวดสะโพกมากจึงไปหาหมอที่คลินิค กินยาคลายกล้ามเนื้อ อาการไม่ดีขึ้น เริ่มเดินไม่ไหวจึงรีบมาโรงพยาบาล แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น subtrochanteric fracture right femur กระดูกต้นขาขวาหัก
แพทย์มีแผนการรักษาให้ On skin traction 2 kg และผ่าตัด Revision THA right hip การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมใหม่ ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2563 โดยให้ยาระงับความรู้สึกแบบเฉพาะที่(Spinal block)
หลังผ่าตัดผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง สัญญาณชีพปกติ ( BP=100/69 P=90 R=20 SPO2=96 ) off folay cath ปัสสาวะออกเองได้ ON NSS 1000 ml 100 cc/hr , on radivac drain ,On skin traction 2 kg แผลซึมเล็กน้อย pain scale = 7 คะแนน มีแบบแผนการรักษาให้ยา mophien 4 mg IV q 4 hr prn, Tramal 50 mg. IV q 6 hr