Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์
ภาวะที่มีการปฏิสนธิระหว่างอสุจิกับไข่
การตั้งครรภ์แฝด คือการมีตัวอ่อน 2 ตัวขึ้นไป
แฝดจากไข่ใบเดียว : มีรกเดียวเมื่อเกิดมาจะมีลักษณะเหมือนกันทุกอย่าง เพศเดียวกัน
แฝดจากไข่สองใบ : เด็กอาจจะมีเพศเดียวกันหรือต่างกัน
การตั้งครรภ์แบ่งเป็น 3 ไตรมาศ
ไตรมาศที่ 1 GA 1-13 wks.
ไตรมาศที่ 2 GA 14-26 wks.
ไตรมาศที่ 3 GA 27-40 wks.
การตั้งครรภ์ปกติ อยู่ที่ 40 +- 2 wks. (38-42 wks.)
การคำนวณอายุครรภ์
คำนวณจาก LMP,ประวัติการดิ้นของลูก
การตรวจภายใน,การวัดระดับยอดมดลูก
การวินัจฉัยการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดงที่คาดว่าจะตั้งครรภ์ (presumptive signs and symptoms)
amenorrhea
N/V
fatigue เหนื่อย/อ่อนเพลีย,เต้านมตึงใหญ่
ปัสสาวะบ่อย
chad wick's signs (ช่องคลอดม่วงคล้ำ)
อาการที่แสดงว่าอาจตั้งครรภ์ (probable signs)
หน้าท้องใหญ่ขึ้น
goodell's sign positive : ปากมดลูกคล้ายริมฝีปาก (6-8 wks.)
hegar's sign positive : มดลูกนุ่มมากทำให้คอมดลูกแยกจากมดลูก (6-8 wks.)
McDonal's sign positive : มดลูกกับปากมดลูกหักทำมุม (7-8 wks.)
vonfernwald's sign positive : ตำแหน่งยอดมดลูกที่รกเกาะจะนุ่ม
piskacek's sign positive : มดลูกขยายใหญ่
ladin's sign positive : จุดที่เริ่มนุ่มเป็นครั้งแรก
อาการที่แสดงว่าตั้งครรภ์แน่นอน (positive signs)
Fetal heart tones
Fetal movement
Ultrasound มีทารกในท้อง
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ : อาจเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ , Prolactin เพิ่มขึ้น , HCG เพิ่มขึ้น , Oxytocin เพิ่มขึ้น ,Thyroid โตขึ้น ,ลดการทำงานของ FSH และ LH
GI system
มีภาวะท้องผูก ,อาจเกิดนิ่ว
อาจเกิดกรดไหลย้อน
น้ำลายมาก , อาจเกิดเหงือกบวม
Resp. system
Progesterone ทำให้ TV สูง
กระบังลมอาจจะยกสูงขึ้น
Cardiovascular system
หัวใจยกสูงขึ้น
อาจเกิด systolic murmurs
หัวใจถูกเบี่ยงมาทางขวา
Hematologic
blood volume สูงขึ้น 40-50%
อาจเกิดภาวะซีด
Reproductive system
Breast
เต้าขยายใหญ่ขึ้น แข็งตึง จำนวนต่อมน้ำนมเพิ่มขึ้น
อาจมีน้ำนมออกมา
Uterus
มีขนาดใหญ่ขึ้น
มดลูกลอกสูงเหนือ pelvis
ผนังมดลูกบางแต่เหนีบวและแข็งแรง
อาจมีอาการหดตัวกล้ามเนื้อมดลูก
Cervix
มีกความนิ่ม มีมูกเหนียว และเป็นสีม่วงคล้ำ
Vagina
มีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น
ช่องคลอดเป็นกรดมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
พัฒนกิจ ขั้นตอนเข้าสู่บทบาทการเป็นแม่
ความรับผิดชอบ (commitment)
ความผูกพัน (attachment)
การเตรียมความพร้อม (preparation)
การเตรียมตัวไปคลอด
การรับประทานอาหาร
การเตรียมเสื้อผ้า
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์
ไตรมาศที่ 1 : ความไม่แน่ใจ ความกลัวและการเพ้อฝัน
ไตรมาศที่ 2 : การยอมรับการตั้งครรภ์ รักและใส่ใจตนเอง การรับรู้ภาพลักษณ์
ไตรมาศที่ 3 : ความเครียด ความสนใจและต้องการทางเพศ
การเผาผลาญสารอาหาร
คาร์โบไฮเดรตเป็นพลังงานสำคัญในช่วงแรก
โปรตีนและไขมัน มีความต้องการเพิ่มขึ้นเพื่อนำไปสร้างส่วนต่างๆ