Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้าย - Coggle Diagram
บทที่ 9 การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้าย
การดูแลแบบประคับประคอง
เป้าหมาย คือ การส่งเสริมให้บุคคลได้รับการดูแลตลอดกระบวนการของการตายที่เรียกว่า ตายดี
บรรเทาความทุกข์ทรมานจากอาการรบกวนและอาการปวด
มีคุณภาพชีวิตที่ดี
การปฏิบัติสอดคล้องกับวัฒนธรรม จริยธรรม
ผู้ป่วยและครอบครัวยอมรับและเข้าใจ พร้อมปรับตัวเข้ากับความเจ็บป่วยได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิด
กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดและมีอาการเพิ่มมากขึ้นเรื่อย(serious illness) (serious illness) (serious illness) โรคเรื้อรังระยะสุดท้าย
กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การประเมินผู้ป่วย
การประเมินPPS
การประเมินอาการรบกวน
การประเมินอาการปวด
การประเมิน 2Q
การบอกข่าวร้ายกับผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมตัวเจรจา
ขั้นตอนที่ 2 สารวจว่ารู้แค่ไหน
ขั้นตอนที่ 3 ประเมินใจอยากรู้แน่
ขั้นตอนที่ 5 ไม่ทอดทิ้งนิ่งดูดาย
ขั้นตอนที่ 6 นัดหมายไว้ภายหน้า
ขั้นตอนที่ 4 เผยแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง
การรับมือกับปฏิกิริยาของผู้ป่วย
ต่อรอง
ให้ความมั่นใจว่าเขาจะได้รับการดูแลอย่างดีที่สุด
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการรักษา
ซึมเศร้า
ประเมินความรุนแรง เพื่อให้การรักษาที่เหมาะสม
โกรธ
เข้าใจ เห็นใจ ไม่ถือสาอารมณ์โกรธของผู้ป่วย
ยอมรับ
นาความเชื่อ หลักคิด คาสอนที่ผู้ป่วยศรัทธามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และเสริมพลังการรักษา
ปฏิเสธ
ให้ข้อมูลโรค การดาเนินโรค และแนวทางการรักษา
แสดงตนว่ารับรู้และเข้าใจความรู้สึกของผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะดูแลเขาอย่างดีที่สุด
Physical Symptoms
อาการที่พบบ่อย ได้แก่ อ่อนเพลีย ปวด หายใจลาบาก คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้าหนักลด เพ้อ
อาการต่างๆ มักเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกัน ต้องประเมินทุกมิติไปพร้อมกัน
อาการทางกายสามารถคาดเดาได้ล่วงหน้า ต้องประเมินคัดกรองสม่าเสมอเพื่อจัดการได้ทันที
Palliative care Outcome Scale (POS) PATIENT QUESTIONNAIRE (version 2)
ช่วง 3วันที่ผ่านมา
คุณมีอาการปวดไหม
คุณมีอาการรบกวนที่ทาให้รู้สึกไม่สบายไหม เช่นคลื่นไส้ ไอ ท้องผูก
คุณวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของตัวเองหรือวิธีการรักษาหรือไม่
คุณมีคนในครอบครัวหรือเพื่อนๆ ที่ห่วงกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของคุณไหม
คุณและครอบครัวได้รับการบอกหรือให้ข้อมูลมากน้อยแค่ไหน
คุณได้พูดคุยถึงความรู้สึกของคุณกับคนในครอบครัวหรือเพื่อนๆ ไหม
คุณรู้สึกซึมเศร้าไหม
คุณรู้สึกดีกับตัวคุณเองไหม
คุณรู้สึกบ่อยแค่ไหนว่ามีแต่เรื่องทาให้เสียเวลา กับการนัดหมายที่เกี่ยวกับโรงพยาบาล เช่น การรอคอยเปล การรอผลตรวจซ้า เป็นต้น
10.คุณมีเรื่องอะไรที่กระทบกับตัวคุณหรือไม่ ทั้งเรื่องการเงิน เรื่องส่วนตัวอื่นๆ
การดูแลระยะท้าย
Spirituality
ประสบการณ์ และอารมณ์
พฤติกรรมที่แสดงออก
การรับรู้
Spiritual suffering/ crisis
ภาวะวิกฤติทางจิตวิญญาณ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถหาหลักที่พึ่งพิงได้ในการให้ความหมายของชีวิต ความหวัง ความรัก ความสงบภายใน หรือเมื่อมีความขัดแย้งระหว่างความเชื่อกับสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นในชีวิต
Spiritual assessment
Informal assessment
Formal assessment
ด้านจิตวิญญาน
การประเมินด้านจิตวิญญาน
หลักคิดและการให้คุณค่า
การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
ศาสนา
การดูแลด้านจิตวิญญาน
มองให้เห็น และตอบสนอง
มีความกรุณา
อยู่กับปัจจุบันขณะ
ฟังอย่างตั้งใจ
สนับสนุนความหวัง (ที่ไม่เกินจริง)
ไม่จาเป็นต้องพูดคุยเรื่องพระเจ้าหรือศาสนา
ปัจจัยความสาเร็จ
ความเข้าใจจิตวิญญาณของตนเองของผู้ประเมิน
สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้การรักษากับผู้ป่วย
เวลา และวิธีการที่เหมาะสม
สรีรวิทยาในระยะเผชิญความตาย
ความเบื่ออาหาร
ดื่มน้าน้อยลง
ความอ่อนเพลีย
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
การหายใจลาบาก หายใจมีเสียงดัง
End of Life Care
ในระยะสุดท้ายของผูป่วยยิ่งเรา รักษาแบบ aggressive มากเท่าไรคุณภาพชีวิตของผูป่วยก็ยิ่งแย่ และญาติก็ยงิ่ ทุกข์ใจมากเท่านั้น
ระยะเผชิญความตาย จะดูแลผู้ป่วยให้ “ตายดี” ได้
ลดหรือหยุดยา และวิธีการตรวจ/การรักษาที่ไม่จาเป็น
รักษาอาการปวด และอาการรบกวนที่ทาให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน
สื่อสารบอกผู้ป่วยและครอบครัวด้วยวิธีที่เหมาะสม
ประเมินและตอบสนองความต้องการด้านจิตวิญญาน
วางแผนการดูแลขณะเผชิญความตายของผู้ป่วย ร่วมกับครอบครัว
การตายดีที่พึงประสงค์
รู้ตัวและมีสติรับรู้สิ่งที่จะเกิดขึ้น
ไม่เจ็บปวด ไม่ทุกข์ทรมาน
ได้รับการดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาน
มีความเป็นส่วนตัว เลือกได้ว่าจะตายที่ใด
มีคนรักอยู่ใกล้ มีเวลากล่าวคาอาลา
พร้อมไปเมื่อเวลามาถึง ไม่ยื้อชีวิต
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
เข้าใจหลักคิดชีวิตคือองค์รวม การเกิดและการตายเป็นธรรมดาของทุกชีวิต
ช่วยเหลือผู้ป่วยให้มีชีวิตที่ดีที่สุดจนถึงวันที่ต้องตาย
ต้องไม่เร่ง หรือยื้อการตายของผู้ป่วยเมื่อเวลานั้นมาถึง
รักษาอาการปวดและอาการทุกข์ทรมานของผู้ป่วยเป็นสาคัญ
ผสมผสานการดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณในการดูแลผู้ป่วย
เริ่มต้นทันทีควบคู่ไปกับการดูแลที่เน้นการรักษาที่ตัวโรค
ใช้หัวใจมากกว่าสมองในการทางาน