Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การฟื้นฟูสภาพ และ การเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การฟื้นฟูสภาพ และ
การเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วยด้วยโรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการ หรือต้องรักษาติดต่อกันนาน หรือ ตลอดชีวิต
เป็นความบกพร่องหรือเบี่ยงเบนจากปกติ 1 อย่างหรือมากกว่า
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
มีความพิการหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับคือสู่ปกติ
ต้องการการฟื้นฟูสภาพ
ต้องการการติดตามอาการ และให้การดูแล เป็นระยะเวลานาน
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
อาหาร
สารเคมี / มลพิษ
อุบัติเหตุต่างๆ
เชื้อโรค
สภาพจิตใจ
เสียงดัง แรงสั่นสะเทือน รังสีต่างๆ
ปัจจัยส่งเสริม
อายุ
พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
ลักษณะบุคลิกภาพ
ฐานะทางเศรษฐกิจ
ลักษณะอาชีพ
เชื้อชาติ และ ชาติพันธุ์
วัฒนธรรม ค่านิยมทางสังคม
ผลกระทบของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทางด้านร่างกาย
ความสามารถในการภาวะโภชนาการผิดปกติ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การรับความรู้สึกและการตอบสนองผิดปกติ
การขับถ่ายผิดปกติ
พักผ่อนไม่เพียงพอ
มีข้อจำกัดในการมีเพศสัมพันธ์
ความสามารถในการรับรู้และการดูแลสุขภาพลดลง
ทำกิจกรรมลดลง
ทางด้านจิตสังคม
วิตกกังวล (Anxiety)
ซึมเศร้า (Depression)
ภาวะหมดหนทางช่วยเหลือ (helplessness)
ภาวะไร้พลัง (powerlessness)
ปัจจัยที่ทาให้เกิด
ความรู้สึกสูญเสียจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง ผ้ปู ่วยจะร้สู ึกว่าสูญเสีย ความหวังในอนาคต สมรรถภาพทางเพศลดลง คุณภาพชีวิตแย่ลง รู้สึกต้องพึ่งพา
ขาดความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง โอกาสในการมีส่วนร่วมในการออกความ คิดเห็นในการรักษาตนเองถูกละเลยให้รอคอยการรักษา การถูกรักษาโดยไม่บอกเหตุผล หรือไม่บอกล่วงหน้า ความรู้สึกแปลกแยกในสังคม
ขาดแหล่งช่วยเหลือ ขาดพาหนะในการมาพบแพทย์ ต้องอยู่ตามลาพัง
วัฒนธรรมในบางสังคม มองบุคคลที่เจ็บป่วยเรื้อรังเป็นบุคคลที่ไร้ประโยน์ ไม่สามารถสร้างความเจริญให้กับสังคมได้อีกต่อไป
เศรษฐกิจและสังคม
ครอบครัว
วิถีทางของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ช่วงเวลาของการเจ็บป่วยที่ใช้เวลานาน รวมถึงการปฏิบัติตนของผู้ป่วย ครอบครัว บุคคลากรสุขภาพในการบริหารช่วงเวลาที่เกิดการเจ็บป่วย
ถูกกำหนดโดยพยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคลถึงแม้ว่าจะเกิดโรคเหมือนกัน ก็อาจจะถูกกาหนดรูปแบบ หรือถูกเปลี่ยนแปลงโดยการกระทาของผู้ป่วย ครอบครัว
สามารถอธิบายเป็นเหตุการณ์ที่ต่อเนื่อง แต่ไม่ได้ดาเนินเป็นเส้นตรง สามารถย้อนกลับไประยะแรก
ได้ หรือมีการยืดขยายของเวลาในบางช่วงมากกว่าช่วงอื่นๆ
Pretrajectory phase ระยะการป้องกัน ในระยะความเจ็บป่วยยังไม่เกิดขึ้น แต่มีปัจจัยทางพันธุกรรม พฤติกรรม การดาเนินชีวิต ที่เสี่ยงต่อภาวะเรื้อรังของโรค
Trajectory phase อาการและอาการแสดงของโรคปรากฏ มีการวินิจฉัยโรคเกิดขึ้น บุคคลเริ่มจัดการกับปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้น
Stable phase อาการแสดงความเจ็บป่วยอยู่ภายใต้การควบคุมและจัดการ โดยการจัดการ/ดูแลระดับปฐมภูมิเกี่ยวกับโรคจะเริ่มเกิดขึ้นที่บ้าน
Unstable phase คือ ระยะขาดความสามารถในการรักษา/ควบคุมอาการที่เกิดขึ้น
Acute phase เกิดความรุนแรงและอาการแสดงที่ไม่สามารถบรรเทา/เกิดอาการแทรกซ้อนของโรค
Crisis phase คือ เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออยู่ในสถานะชีวิตถูกคุกคามและต้องการการรักษาที่เร่งด่วน
Comeback คือ เป็นการแสดงการย้อนกลับของความเจ็บป่วยเรื้อรังกลับมาอย่างทีละนิดและยอมรับว่าเกิดการเจ็บป่วยและมีอาการแสดง
Downward phase คือ เป็นลักษณะที่มีภาวะเพิ่มขึ้นของการถดถอย, ความพิการเพิ่มขึ้นและอาการแสดงเพิ่มขึ้นรูปแบบวิถีทางความเจ็บป่วยจะจบลงในระยะนี้
Dying phase ซึ่งมีการเพิ่มขึ้นทีละนิดหรือร่างกายหยุดการทางานอย่างรวดเร็ว
การพยาบาล
เป้าหมาย : การส่งเสริมและคงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วย และครอบครัว
การพยาบาล : ให้ความสาคัญในการแก้ไขความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทั้งด้านร่างกาย จิตสังคมจิตวิญญาณ และวัฒนธรรม
เน้นการฟื้นฟูสภาพ โดยการควบคุมอาการ การป้องกันความพิการ ป้องกันการกลับเป็นซ้า
การส่งเสริมการดาเนินชีวิตอย่างผาสุก ของผู้ป่วยและครอบครัว
บทบาทพยาบาล
มีทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย
เป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุน ให้เกิดพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
สนับสนุนให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีการเผชิญความเครียดได้ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
ให้ความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยนาไปปฏิบัติ โดยต้องให้ผู้ป่วยมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมนั้นด้วย
ส่งเสริมและพัฒนาการรับรู้สมรรถนะของตนเอง
ให้ผู้ป่วยมีประสบการณ์การประสบผลสาเร็จด้วยตนเอง
การได้เห็นต้นแบบ หรือประสบการณ์ของผู้อื่น
การได้รับคาแนะนา การชักจูง การได้รับการกระตุ้นพฤติกรรม
การลดการกระตุ้นทางอารมณ์ โดยการค่อยเป็นค่อยไป การฝึกผ่อนคลาย การบรรเทาอาการ
การพยาบาลเพื่อควบคุมอาการ
ให้ความรู้ คาแนะนา และส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง
ดูแลภาวะโภชนาการ
ให้การพยาบาลแบบองค์รวมที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย เช่น กรณีผู้ป่วยอาการกาเริบรุนแรง ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ภายใต้การมีส่วนร่วมของผู้ป่วย และครอบครัว
ดูแลให้ได้รับยาอย่างสม่าเสมอ
ส่งเสริมการทากิจกรรมเพื่อลดความวิตกกังวล
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
วางแผนการพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม ตั้งแต่อยู่ในโรงพยาบาลและต่อเนื่องที่บ้าน
มีการวางแผนติดตามผู้ป่วยให้ปฏิบัติการฟื้นฟูสภาพอย่างเป็นระบบ
ให้ความรู้ และข้อมูลต่างๆ ในการฟื้นฟูสภาพ แก่ผู้ป่วยและญาติ อย่างเพียงพอ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับไปพักฟื้นที่บ้าน
ประสานงานกับโรงพยาบาล และแนะนาแหล่งประโยชน์ในชุมชนที่สามารถช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพต่อไป
การพยาบาลเพื่อป้องกันอาการกาเริบรุนแรงซ้า
ประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง สาเหตุและอุปสรรคในการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยและครอบครัว
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้มีทักษะในการดูแลตนเอง
หากผู้ป่วยและครอบครัวไม่เห็นความสาคัญของการดูแลตนเองตามที่ให้คาแนะนา ต้องประเมินหาสาเหตุ เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไขให้สอดคล้องกับผู้ป่วยแต่ละราย
การพยาบาลเพื่อคงไว้ซึ่งการดาเนินชีวิตอย่างผาสุก
มีทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย *เป็นสิ่งสาคัญอันดับแรก
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าระบายความรู้สึก
ประเมินความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยเรื้อรัง
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินในเกี่ยวกับการรักษา
สนใจและให้เวลาแก่ผู้ป่วยอย่างสม่าเสมอ
จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง และเสริมสร้างพลังอานาจในตนเองแก่ผู้ป่วย
จัดหาแหล่งสนับสนุนทางสังคม ให้ความช่วยเหลือชี้แนะทางด้านการเงิน โดยเฉพาะ การสนับสนุนจากบุคคลในครอบครัว หรือคนใกล้ชิดผู้ป่วย
การฟื้นฟูสภาพ
แนวคิดเกี่ยวกับการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ มีจุดมุ่งหมายเพื่อคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะของร่างกาย ป้องกัน
ความพิการ ภาวะแทรกซ้อน และสามารถช่วยเหลือดูแลตนเองได้
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ต้องรักษาพยาธิสภาพ ให้การป้องกัน ฟื้นฟูสภาพสิ่งที่
ผิดปกติ ช่วยในการปรับตัว ของทั้งผู้สูงอายุ ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดล้อม
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
“ RAMPS ”
R – Reduce body reserve*
A – Atypical presentation
M – Multiple pathology
P – Polypharmacy*
S – Social adversity*
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
การเปลี่ยนแปลงของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีความแตกต่างจากผู้ป่วยวัยอื่นๆ
ความแตกต่างทางร่างกาย
• มีโรคเรื้อรังหลายโรค ความสามารถในการทาหน้าที่ของระบบต่างๆ ลดลง
ความแตกต่างด้านจิตใจ
• ความเชื่อ การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และความรู้สึกนึกคิด ซึมเศร้า การขาดแรงจูงใจ
ความแตกต่างด้านสังคม สิ่งแวดล้อม
• ปรับตัวเข้ากับสังคมยาก มีสภาพร่างกายที่บกพร่องกว่าวัยอื่น ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ
ความแตกต่างด้านการตั้งเป้าหมายการรักษา
อุปสรรคของการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ปัจจัยทางด้านจิตใจ -> ความเชื่อ การรู้คิดบกพร่อง การขาดแรงจูงใจ
ปัจจัยทางด้านเศรษฐานะ สังคม และสภาพแวดล้อม -> ค่าใช้จ่ายสูง สภาพร่างกายไม่เอื้อต่อการเข้าสังคม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพไม่เอื้ออานวย caregiverความไม่พร้อมและเจตคติ
ที่ไม่เหมาะสมของญาติผู้ดูแล
ปัจจัยทางด้านร่างกาย -> การนอนหลับ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะการควบคุมอุณหภูมิ
ร่างกายบกพร่อง ภาวะ postural hypotension
ความไม่พร้อมของทีมสุขภาพ
ความท้อแท้ของผู้ป่วยที่มักจะมีสาเหตุจากภาวะของโรคหรือโรคซึมเศร้า
ความคาดหวังที่มีมากหรือน้อยเกินไปของผู้ป่วยและญาติ
ความต้องการเตียงสูง มีผู้ป่วยรอเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นจานวนมาก ทาให้ต้องรีบ
หยุดการฟื้นฟูสภาพเร็วเกินไป
การขาดความต่อเนื่องในการฟื้นฟูสภาพเมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยมีหลายโรคและได้รับยาจานวนหลายชนิด ผู้ป่วยมีภาวะสับสนอาจเป็นจากกลุ่มอาการ
สับสนเฉียบพลันหรือกลุ่มสมองเสื่อม
ญาติหรือผู้ดูแลจะพยายามทากิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้ป่วยแทนที่จะให้ผู้ป่วยได้ทาด้วยตนเอง
เนื่องจากญาติรู้สึกว่าสะดวกและประหยัดเวลา หรือเพราะความเชื่อที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นการทดแทนคุณหรือสมควรให้ผู้สูงอายุอยู่เฉย ๆ ไม่ต้องทากิจกรรมใด ๆ ให้ลาบาก
ขั้นตอนของการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ตรวจหาโรค หรือปัญหาที่อาจก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพโดยเร็วเพื่อที่จะดาเนินการตั้งแต่เริ่มแรก
ดาเนินการประเมินผู้สูงอายุอย่างละเอียดโดยครอบคลุม
กาหนดเป้าหมายและแผนการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสม (นิยมการประชุมกลุ่ม)
ดาเนินการฟื้นฟูสภาพตามเป้าหมายที่วางไว้
การติดตามประเมินผลเป็นระยะ เพื่อปรับเปลี่ยนแผนการฟื้นฟูสภาพ หรือแม้แต่เป้าหมายเพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของผู้ป่วย
กลวิธีในการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ควบคุมความบกพร่องหรือโรคที่เป็นสาเหตุ แพทย์จะต้องรักษาโรคที่เป็นสาเหตุของความพิการการหลงลืม ควบคุมความรุนแรงของโรคและควบคุมความเจ็บปวด เช่น การให้ยา
พัฒนาความสามารถในการทาหน้าที่ ให้ความสาคัญกับจุดแกร่งหรือแข็งมากกว่าจุดที่เป็นปัญหา คงไว้ซึ่งตามสมดุลระหว่างการออกกาลังกายกับการพักผ่อน กระตุ้นให้ผู้ป่วยค่อยๆ มีกิจกรรม
ป้องกันความพิการ ส่งเสริมการทากิจกรรมในขณะที่ผู้ป่วยมีความสามารถที่จากัด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการไม่ได้เคลื่อนไหว
สร้างบรรยากาศของการฟื้นฟูสภาพ โดยเพิ่มแรงจูงใจให้แก่ผู้ป่วยและบุคลากร
เริ่มให้การฟื้นฟูทันทีที่ผู้ป่วยเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล และก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ความพิการ หรือทุพพลภาพใหม่หรือเพิ่มเติม
รักษาไว้ซึ่งศักดิ์ศรีของบุคคล ส่งเสริมความภาคภูมิในตน การยอมรับนับถือ และความเชื่อมั่น
ส่งเสริมการช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
ปฏิบัติการฟื้นฟูสภาพอย่างต่อเนื่อง
วางแผนปรับสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในบริเวณที่อยู่อาศัย การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือต่าง ๆรวมถึงกายอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งญาติและครอบครัวมีบทบาทมากในเรื่องนี้
ข้อควรคานึงในการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ให้การดูแลให้ครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม เข้าใจในความแตกต่างและมองเห็นความต้องการของผู้ป่วยแต่ละราย
ให้การดูแลผู้ป่วยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ (ต้องเริ่มตั้งแต่รับผู้ป่วยไว้ในความดูแล)
ให้ความอิสระแก่ผู้ป่วยมากที่สุด ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสามารถที่จะปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ด้วย
ตนเองอยู่ตลอดเวลาโดยปราศจากความช่วยเหลือใด ๆ ทาให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าเป็นที่ต้องการของครอบครัวและสังคม
สร้างแรงจูงใจ มีความกระตือรือร้นที่จะฟื้นฟูสภาพอย่างต่อเนื่อง ให้ผู้ป่วยมีความรับผิดชอบเกี่ยวกับ
การดูแลตนเอง และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง
การฟื้นฟูสภาพในกลุ่มอาการผู้สูงอายุ
Immobility
Instability
Intellectual impairment
Incontinence
ขั้นตอนในการฟื้นฟูสภาพ
ตรวจหาโรคหรือปัญหาที่อาจก่อนให้เกิดภาวะทุพพลภาพโดยเร็ว เพื่อดาเนินการรักษาในระยะต้น
กาหนดเป้าหมายและ แผนการฟื้นฟูที่เหมาะสม
ประเมินผ้สู ูงอายุอย่างละเอียดและครอบคลุม -> โรคทางกาย ภาวะโภชนาการ การมองเห็น การได้ยิน การ
ควบคุมการขับถ่าย ผลไม่พึงประสงค์จากยา ความสามารถในการดาเนินชีวิต สภาพจิตใจ สภาวะทางครอบครัว และสังคม ภาวะสมองเสื่อม ซึมเศร้า เศรษฐานะ ผ้ดู แู ลหลัก BADL, IADL, AADL, gait
and balance, การสื่อสาร - > เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อการกาหนดเป้าหมาย และแผนการฟื้นฟู
ดาเนินการฟื้นฟูตามเป้าหมายที่วางไว้
ติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ
คุณลักษณะของพยาบาลในการฟื้นฟูสภาพ
มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพยาบาลทั่วไป อย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง และมีความรู้เกี่ยวกับหลักและวิธีการฟื้นฟูสภาพ
มีเจตคติที่ดี อดทน ใจเย็น เพราะผ้สู ูงอายุอาจต้องใชเ้ วลานานในการฟื้นฟูสภาพ
มีความมั่นใจ กล้าตัดสินใจที่จะช่วยผ้สู ูงอายุให้ลุกออกจากเตียง เพราะการนอนนานเป็นอุปสรรคสาคัญในการฟื้นฟูสภาพ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองการณ์ไกล ปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการให้เหมาะสม
มีความสามารถในการวางแผน
เป็นผู้ประสานงานที่ดีในทีมฟื้นฟูสภาพ
เป็นครูที่มีประสิทธิภาพ - > สอนและแนะนา ผ้สูงอายุ ครอบครัว
เป็นมิตรที่ดี สร้างสัมพันธภาพให้ผู้สูงอายุมีความไว้วางใจ รู้สึกปลอดภัย ** ต้องพิทักษ์สิทธ์/รักษาความลับ
การวางแผนการพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูสภาพ
ประเมินสภาวะ พฤติกรรม และความพร้อมของผ้ปู ่วย
วางแผนการปฏิบัติเพื่อการฟื้นฟูสภาพ
การวางแผนการจาหน่ายและส่งต่อ
วางแผนการดูแลที่บ้านให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ -> ตั้งแต่แรกรับไว้ในโรงพยาบาล โดยการประเมินเป็นองค์รวมของบุคคล
รวบรวมข้อมลู เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่บ้านของผ้ปู ่วย -> จากญาติ นักสังคมสงเคราะห์
ประเมินสภาพของผ้ปู ่วยตามแบบฟอร์มที่กาหนดของหน่วยงาน
วางแผนร่วมกับ ผ้ปู ่วย ครอบครัว ผู้ดแู ล เพื่อหาแนวทาง และกาหนดแผนที่สามารถปฏิบัติได้จริงไว้ล่วงหน้า
ให้ความรู้ครอบครัวและผ้ดู ูแล เพื่อให้เข้าใจ ไม่กลัว หรือคับข้องใจที่จะดูแล
ช่วยเลือกการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วย
ส่งต่อผู้ป่วยไปหน่วยงานอื่นที่ต้องให้การดูแลต่อไป เช่น สถานสงเคราะห์