Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบคอมพิวเตอร์(Computer system) - Coggle Diagram
ระบบคอมพิวเตอร์(Computer system)
ระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มอย่างง่าย
(Simple Batch Systems)
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มจะทําการอ่านข้อมูลโดยผ่านเครื่องอ่านการ์ดซึ่งแต่ละการ์ด ควบคุม(control card)จะทําการควบคุมการประมวลผลงานไปจนกระทั่ง งานสําเสร็จและพิมพ์งาน (print) ออกมา ดังนั้นจะเห็นว่าระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มจะไม่มีการปฏิสัมพันธ์(interaction)ระหว่างผู้ใช้และงาน (job)ในขณะที่โปรแกรมทําการโปรเซสโดยหน่วยประมวลผลหลักโดยความล่าช้า (delay)ระหว่างช่วงที่มีการเปลี่ยนงานจนถึงงานเสร็จจะเรียกว่าturnaround time
ตัวอย่างเช่น
คอมพิวเตอร์ ยุคแรกๆมีขนาดใหญ่ ทําการรับจากคอนโซล (Console)
อุปกรณ์นําเข้าหรรืออินพุต (Input)
เป็นพวกการ์ดริดเดอร์(Card Reader)
และเทปไดรฟ์ (Tape Drive)
เป็นพวกไลน์ปริ้นเตอร์(Line Printer)
อุปกรณ์แสดงผลหรือเอาท์พุต (Output)
เทปไดฟ์รและบัตรเจาะรู(Punched Card)
ระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มหลายโปรแกรม
(Multi-programmed Batched Systems)
ระบบปฏิบัติการจะเก็บงานซึ่งประกอบด้วย 4 งานคือ job1, job2,
job3 และjob4 ไวใ้นหน่วยความจํา ซึ่งมีขนาด 512 k ดังรูป
ตัวอย่างเช่น
การไปหาหมอต้องตรวจประวัติก่อน หลังจากนั้นทําการรักษา
หลังจากนั้นรับยาแล้วกลับมาทํารักษาใหม่
ระบบปฏิบัติการแบบทํางานโต้ตอบ
(interactive)
ระบบปฏิบัติการแบบทํางานโต้ตอบ หมายถึงระบบปฏิบัติการที่มีการโต้ตอบทันทีเมื่อมีการรอ้างขอจากผู้ใช้โดยโปรแกรมจะทําการตอบสนองทันทีตัวอย่างเช่นเมื่อผู้ใช้ทำการป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ดไปยังโปรแกรมประมวลผลคำ(Word processing) โปรแกรมจะแสดงผลผ่านทางหน้าจอทันทีโปรแกรมสําหรับตู้ATM โดยผู้ที่ต้องการถอนเงิน จากตู้ATM ผู้ใช้สามารถเลือกเมนูสำหรับการถอนเงินผ่านตู้ATMและได้รับเงินจากตู้ATM ทันทีโดยที่ไม่จําเป็นจะต้องรอ
เมื่อต้องการดูจํานวนของเงินผู้ใช้สามารถเลือกเมนูเพื่อแสดงจํานวนเงินได้ทันที
ตัวอย่างเช่น
การถอนเงินผ่านตู้ATM และได้รับเงินจากตู้ATM
ระบบปฏิบัติการแบบคู่ขนาน
(Parallel Systems)
ระบบ multiprocessor ที่มีCPU มากกว่า 1 ตัว ในการติดต่อสื่อสารและเป็น Tightly coupled system คือ processor มีการ share memory และ clock การติดต่อสื่อสารจะผ่านทาง share memory
ตัวอย่างเช่น
ระบบปฏิบัติการแบบกระจายอำนาจ
(Distributed Systems)
เป็นการแจกจ่ายงานใหม่กับ processors ที่มีอยู่เราเรียกDistributed Systems อีก ชื่อว่า Loosely coupled system คือ processor แต่ละตัวจะมีหน่วยความจําเป็นของตัวเองการสื่อสารระหว่าง processor ก็ทําได้หลายวิธี
ตัวอย่างเช่น
ผ่านทาง high-speed buses หรือสายโทรศัพท์
ระบบเวลาจริง (Real-time Systems)
1) Hard real-time system เป็นระบบที่ถูกรับรองได้ว่าจะทําการตอบสนองตรงเวลา ไม่มีฮาร์ดดิสก์(Hard disk)หรือมีขนาดเล็ก โดยการเก็บข้อมูลจะเก็บในหน่วยความจําระยะสั้น(short-term memory) หรือ ROM ข้อเสียคือไม่สนับสนุน ระบบการแบ่งส่วนเวลา (time-sharing)และระบบนี้ได้ไม่มีการสนับสนุน จากระบบปฏิบัติการทั่วไปตัวอย่างเช่น ระบบควบคุมการลงจอดของเครื่องบินควบคุมการเบรกของรถยนต์เครื่องช่วยหายใจระบบจะต้องควบคุมการทํางานให้ตรงเวลาเพราะถ้าเกิดข้อผิดพลาดจะเกิดความเสียหาย
2) Soft real-time system เป็นระบบที่สนับสนุนในส่วนของการแบ่งส่วนเวลาคือรอให้งานอื่นสามารถทําให้เสร็จก่อนได้ตัวอย่างเช่นการควบคุมเสียงในโรงงานอุตสาหกรรมควบคุมระบบควบคุมการจองตั๋วเครื่องบินอาจจะเกิดข้อผิดพลาดหรือการเลื่อนของเวลาได้
ตัวอย่างเช่น
งานทดลองทางวิทยาศาสตร์ระบบภาพทางการแพทย์(medical imaging systems), งานควบคุมทางอุตสาหกรรมงานแสดงผลบางอย่าง Real-time systems จะทํางานได้ดีถ้ามีข้อกําหนดในเรื่อง fixed-time
ระบบมัลติโปรเซสเซอร์(Multiprocessor System)
ระบบหลายโปรเซสเซอร์หมายถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่มีซีพียูหลายตัวช่วยกันทำงานสามารถแบ่งได้4ประเภทคือ
1) SISD (Single Instruction stream, Single Data stream)
2) SIMD (Single Instruction stream, Multiple Data streams)
3) MISD (Multiple Instruction streams, Single Data stream)
4) MIMD (Multiple Instruction streams, Multiple Data streams)
ตัวอย่างเช่น
2) SIMD (Single Instruction stream, Multiple Data streams)
3) MISD (Multiple Instruction streams, Single Data stream)
1) SISD (Single Instruction stream, Single Data stream)
4) MIMD (Multiple Instruction streams, Multiple Data streams)