Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, พรลภัส ไทยธัญญพานิช 66106010039 Sec B02 -…
ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
โรคเบาหวาน
ชนิด
ชนิดที่หนึ่ง
มักจะผอม
เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
พบในเด็ก ส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 30 ปี
ถ้าขาดจะเกิดภาวะหมดสติจากน้ำตาลในเลือดสูง
ชนิดที่สอง
พบมาก
ตับอ่อนยังผลิตอินซูลินได้แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ปัจจัยชักนำ
ปริมาณอินซูลินลดลงเนื่องจากภาะสูงอายุ
เกิดการดื้ออินซูลินเนื่องจากสูงอายุ
โรคอ้วน
กรรมพันธุ์
การเจ็บป่วยหรือความเครียด
ยาที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกไม่ค่อยมีอาการ
อาการทั่วไป กินจุ ปัสสาวะบ่อย น้ำหนักลด ดื่มน้ำมาก
ติดเชื้อบ่อย โดยเฉพาะแบคทีเรีย แผลหายยาก
ระบบปะสาททำงานบกพร่อง เช่น ชา เจ็บปวด ปวดแสบร้อน
รอยโรคที่ผิวหนัง
มีภาวะแทรกซ้อนของระบบต่อมไร้ท่อ
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีอาการของโรคเบาหวานร่วมกับมีระดับน้ำตาลกลูโคสในพบลาสมาจากหลอดเลือดดำ มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก/ดล
ผู้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงหลังงดน้ำงดอาหาร
ผู้มีระดับน้ำตาลในเลือดที่เวล 2 ชั่วโมงหลังการทำการทดสอบกลูโคสมีค่ามากกว่า. 200 มก%
ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
Nonketotic hyperglycemic-hypperosmolar coma NKHHC
ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึมและสมัพันธ์กับการที่เลือดมีควาามเข้มข้นสูง
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดเล็ก
ภาวะเเทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่
ถูกตัดขา
แผลหายยาก เส้นเลือดตีบทำให้ขาดสารอาหารและออกซิเจน
เส้นประสาทส่วนปลายเสื่อม ทำให้ไม่รู้สึกเจ็บ เกิดแผลได้ง่าย
อาการแสดงที่เตือนว่ามีปัญหาที่เท้า
เท้าเย็นและมีอาการรปวดเป็นพักๆ
ค่อยๆเปลี่ยนแปลงของรูปร่างนิ้ว
สีและความหยาบของผิวหนังเปลี่ยน
การควบคุมเบาหวาน
ควบคุมระดับน้ำตาลให้ใกล้เคียงปกติมาากที่สุด
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือดใหญญ่
บริโภคอาหารที่เหมาะสม
การลดน้ำหนัก
การออกกำลังกาย
การใช้ยาฉีด
การพยาบาล
ส่งเสริมความรู้และความสามรถในการปฏิบัติตนเพื่อควบคุมโรคเบาหวานได้
แนะนำเรื่องอาหาร คควรรับประทานอาหารร่วมกับออกกำลังกาย
โภชนบำบัด 9 ประการ
ยาเบาหวานชนิดรับประทาน
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินตจากตับอ่อน sulfonylurea
แก้ไขภาววะดื้อต่ออินซูลินต่อตับ metformin
ชะลอการย่อยและการดูดซึมมของน้ำตาล ลดระดับนน้ำตาลหลังอาหาร acarbose
แก้ไขภาวะดื้อต่ออินซูลินที่เซลล์กล้ามเนื้อ rosiglitozone
ภาวะท้องผูก
ความหมาย
ถ่ายอุจจจาระแข็งและแห้งผิดปกติ ความถี่คือหลายวันจึงจะขับถ่าย
เป็นภาวะที่ทำงานหรือการเคลื่่อนไหวของลำไส้ลดลงทำให้ไม่สามารถถ่ายอุจจาระออกมาได้
ภาวะที่บบุคคลรับรู้ด้วยประสบการณืว่า การทำงานหรรือการเคลื่อนไหวของลำไส้มีการรเปลปี่ยนแปลง
ชนิด
แบ่งตามลักษาณะการขับถ่ายอุจจาระ
ภาาวะท้องผูกถ่ายยลำบาก หรือเจ็บปวดในนขณะถ่าย
ภวะท้องผูกที่มีการไหลอุจจาระในลำไส้อย่างช้าๆ
แบ่งตามสาเหตุการทำให้เกิดท้องผูก
เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรคอื่นเป็นสาเหตุนำมาก่อน
Primary constipation
กินอาหารที่มีกาากน้อย
ละเลยไม่ถ่ายอุจจาระทันทีที่ปวด
ออกกำลังกายน้อย
ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ดื่มน้ำน้อย
กล้ามเนื้อหน้าท้องอ่อนแอ
Secondary constipation
มีก้อนเนื้องอกของลำไส้
การเคลื่อนไหวของลำไส้ผิดปกติ
มีพยาธิสภาพของไขสันหลัง
มีความปกติของต่อมไร้ท่อ
มีควาามผิดปกติทางจจิต
ประเมินอาการท้องผูก
การซักประวัติ
แบบแผนการขับถ่ายความถี่ในการอุจจาระ ลักษณะอุจจาระ ความปวด การรสวนอุจจาระ ยาที่ใช้
การตรวจร่างกายย
ฟังเสสียงลำไส้บีบตัวลดลงหรือเพิ่มขึ้นน กดเจ็บแสดงถึงการมี diveritculitis
การพยาบาล
รับประทานอาหารอย่างเพียยงพอและอาหารที่มีเส้นใยยสูง
เเนะนนำดื่มน้ำวันละ 6-8แก้วเป็นอย่างนน้อย โดยเฉพาะหลังตื่นนอน
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มาคาเฟอีน ทำให้การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
ออกกำลังกายอวัยวะที่ช่วยยในการขับถ่าย คือ กล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรราน
ฝึกการขับถายให้เป็นเวลา
ไม่กลั้นอุจจาระเข้าห้องน้ำทันที
อุจจาระแข็งควรให้ยาที่ดูดนน้ำไว้เพื่อให้อุจจาระอ่อนตัว
ใช่ยาระบายที่มีฤทธิ์ผลข้างเคียงน้อย
ระวังการใช้ยาลดกรดที่มีองค์ประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนตและโซเดียม
ยาเหน็บควรใช้เป็นครั้งเป็นคราวไม่ควรใช้บ่อย
กรณีที่รับประทานนยาระบายแล้วอุจจาระไม่ออก
สวนด้วยยาหล่อลื่น
ควักอุจจาระออกมาให้มาากที่สุดเจ็บมากให้ยาแก้ปวด
โรคหลอดเลือดสมอง
ชนิด
เกิดจากสมองขาดเลือด
เกิดจากการมีเลือดออกในสมอง
อาการ
หน้าเบี้ยว
แขนขาอ่อนแรง
พูดไม่ชัด
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้
เพศ
อายุ
ชาติพันธ์
พันธุกรรม
ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้
ความดันโลหิต
Atrial fibrillation
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดแดง Carotid
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
เคยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
การประเมินสภาพ
ประวัติ อาการสำคัญ ระยะเวลาที่เกิดอาการผิดปกติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การตรวจร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
คะแนน 11-13 เสียการทำงานปานกลาง
คะแนน 14-15 เสียการทำงานเล็กน้อย
คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 เสียการทำงานรุนแรง เป็นผู้ป่วยวิกฤติ
การอ่อนแรงกล้ามเนื้อใบหน้า
การอ่อนแรงกล้ามเนื้อแขนขา
อาการแสดงที่ต้องรายงานแพทย์ทันที
BP;SBP > 185-220 mmHg, DBP > 120-140 mmHg
พร่องออกซิเจน sat < 95 หรือมีภาวะ cyanosis
GCS < 10 หรือ ลดลง
DTX < 50mg% หรือ >400mg%
เจ็บหน้าอก ชัก เกร็ง กระตุก เหนื่อยหอบ
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจทางรังสี : CT MRI
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ : CBC, PT, PTT, INR, Glusose, E+ , EKG
การรักษา
การรักษาแบบทางด่วน
กรณีที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน เข้ารับการรักษาภายในโรงพยาบาลไม่เกิน 3 ชั่วโมง
Reperfusion therapy คือ ให้ยาละลายลิ่มเลือด (RTPA)
เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้ป่วยให้ RTPA คือ ผล CT ไม่พบว่ามีเลือดออกในสมอง
ข้อห้ามในการให้ RTPA
ไม่ทราบระยะเวลาที่แน่นอน
มีเลือดออกในสมอง
มีอาการชัก
มีประวัติเลือดออกในสมอง
มีความดันโลหิตสูง
มีค่าความแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
Hct < 25%
มีประวัติผ่าตัดใหญ่ใน14วัน
มีเนื้อสมองตายมากกว่า 1 กลีบ
การรักษาแบบไม่ใช่ทางด่วน
Prevention therapy ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ ควรได้รับแอสไพริน
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ระดับความรู้สึกตัวลดลงเนื่องจากเนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
ระดับความรู้สึกตัวลดลงเนื่องจากมีภาวะสมองบวม
การพยาบาล
ขณะให้ยาละลายลิ่มเลือด
อธิบายญาติให้เข้าใจข้อดี ข้อเสีย
เปิดหลอดเลือดดำ 2 เส้น เส้นหนึ่งให้ 0.9% NSS ที่เหลือ lock ไว้ให้ยา
การเตรียมยา
ยาที่ผสมเหลือให้เก็บไว้ในตู้เย็น อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส
ผู้ป่วยควรได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันการมีเลือดออกดังนี้
เข้ารับการรักษาใน stroke unit or ICU
งดกิจกรรมเหล่านี้หลังได้รับยา 24 hr
ให้ยา heparin/warfarin/antiplatelet
ใส่NG tube
แทงสายเข้าหลอดเลือดดำส่วนกลาง
เจาะ arterial blood gas หรือ เจาะหลอดเลือดแดง
หลีกเลี่ยงการใส่สายสวนปัสสาวะใน 30 นาที
หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำที่มีน้ำตาลกลูโคส
ระยะฉุกเฉินและวิกฤติ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ไม่ควรใช้ PEEP เพราะจะทำให้เพิ่ม ICP
ประเมินความรู้สึกตัวและภาวะเลือดออกในสมอง
กรณีที่มีความดันโลหิตสูง หลีกเลี่ยงการให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อความดันโลหิต SBP น้อยกว่าหรือเท่ากับ 220 mmHg หรือ DBP น้อยกว่าหรือเท่ากับ 120 mmHg
ดูแลงดน้ำและอาหารทางปาก กรณีผู้ป่วยซึม และสงสัยว่ามี Massive infarction
ประเมินระดับน้ำตาลในเลือด
ลดการกระตุ้นที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการเกร็ง
ให้การดูแลญาติและครอบครัว
ให้ยาลดไข้กรณีที่มีไข้
ให้ยาป้องกันชักและระวังชักในกรณีที่มีอาการชัก
จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา เพือ่ให้เลือดดำไหลกลับสมองได้ดีขึ้น
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ความดันในช่องอก ช่องท้องเพิ่มขึ้น
ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ
การพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันกระโหลกศีรษะสูง(IICP)
จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 30 องศา ศีรษะลำคอตั้งตรง สะโพกไม่หักพับงอมากกว่า 90
ห้ามจัดท่านอนคว่ำหรือนอนศีรษะต่ำ
วัดสัญญาณชีพและอาการ
ประเมินอาการแสดงความดัน
ดูแลป้องกันไม่ให้เกิดแรงดันในช่องอกและช่องท้องสูงขึ้นเพราะทำให้หลอดเลือดดำไหลกลับเข้าสู่หัวใจลดลง
หลีกเลี่ยงการไอและจามแรงๆ
หลีกเลี่ยงการใส่เครื่องช่วยหายใจแรงดันบวก (PEEP; positive end expiratory pressure) ถ้าเลี่ยงไม่ได้ควรอยู่ระหว่าง 5 CmH2O
หลีกเลี่ยงท้องผูก ห้ามเบ่งถ่าย/สวนอุจจาระ
ให้ยาลดบวมของสมองตามแผนการรักษา เช่น manitol
ผู้ป่วยและญาติเข้าใจความสำคัญของการรับประทานยา
อธิบายและให้คำแนะนำเกี่ยวกับกิจกรรมที่ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำ
อธิบายอาการแสดงที่ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์
มาตรวจตามแพทย์นัด
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติซักถาม
ต่อมลูกหมากโต
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน
การโตของต่อมลูกหมากสัมพันธะ์กับการเปลี่ยนแปลงตามวัย
ฮอร์โมน dihydrotestosterone (DHT)เกี่ยวข้องกับการเเกิด BPH
อาการ
ปัสสาวะไม่พุ่ง
ปัสสาวะไม่สุดเหมือนคนที่ยังไม่ได้ปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะต้องเบ่งหรือรอนานกว่าปัสสาวะจะออกมา
ภาวะแทรกซ้อน
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ไตเสื่อม
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะเล็ด
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
สอบถามอาการถ่ายปัสสาาวะผิดปกติ
ระยะเวลาที่เริ่มอาการถ่ายปัสสวะผิดปกติ
ลักษณะของการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
ตรวจทุกระบบ
อาจมีปัญหาเลือจาง
บวมตามตัว
อาจจติดเชื้อของไต เคาะบริเววณด้านหลังมีอาการเจ็บ
ตรวจทางทวารรหนักเพื่อดูขนาดต่อมลูกหมาก
คลำและเคาะหน้าท้องบริเววณหัวหน่าว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจปัสสาวะเพื่อดูอาการติดเชื้อ
Tumor-marker ในการสืบค้นหามะเร็งต่อมลูกหมากโต
ตรวจเลือดเพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของไต
Cytoscope เพื่อดูวาท่อปัสสาวะตีบตันหรือไม่ต่อมลูกหมากโตเพียงใด
Plain kidney ureter bladder (KUB) และการทำ IPV
Ultrasound
Uroflowmetry เพื่อดูว่าทางเดินปัสสาาวะอุดกั้นมากน้อย
การรักษา
รักษาด้วยยา
ลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อที่บีบรัดท่อปัสสาวะ alfa blocker treatment
กล้ามเนื้อคอกระเพาะปัสสาวะคลายตัว รูของท่อปัสสาวะกว้างขึ้น
มีฤทธิ์ข้างเคียงคคือ ความดันโลหิตต่ำ
ใช้ยาลดขนาดต่อมลูกหมาก
หากหยุดยาต่อมลูกหมาากจะโตขึ้น จต้องรับประทานนยาต่อเนื่อง
การเฝ้าสังเกตอาการ
มาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
แพทย์จะพิจารณาว่าจำเป็นหรือไม่จำเป็นต้องให้ยา
ต่อมลูกหมาดโตไม่มากอาการจะดีขึ้นเอง
ไม่แนะนำให้รับประทานยาลดน้ำมูก
รักษาโดยไม่ผ่าตัด
Transurethral microwave procedures
Transurethral needle ablation
Ballon diilatation
การรักษาโดยการผ่าตัด
Transurethral resectiion ofthe prostate TURP
เลือดออกง่าย อสุจิไหลย้อนกลับ กลั้นปัสสาวะไม่ได้ องคชาตไม่เเข็งตัว
หลังจากผ่าตตัดต้องคาสายสวน 2-3 วัน
เหมาะสำหรับผู้มีต่อมลูกหมากโตปานกลาง
Transurethral incision oof the prostate (TUIP)
กรณีต่อมลูกหมากไม่โตมาก
ลดความดันในตต่อมลูกหมากทำให้ปัสสาวะง่ายขึ้น
Open prostatectomy or suprapubicprstatectomy
ผ่าตัดผ่านทางหน้าท้องแล้วเอาต่อมลูกหมากออก
กรณีต่อมลูกหมากโตมาก
อาจกลั้นปัสสาวะไม่ได้ องคชาตไม่แข็งตัว
มีเลือดออกมากต้องอยู่โรงพยาบาลนาน
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
โกนขนและล้างหัวหน่าวและบริเวณฝีเย็บให้สะอาด
สวนอุจจาระก่อนนอนในคืนวันก่อนผ่าตัด
ให้ยานอนหลับตามแผนการรักษา
อาบน้ำสระผมเย็นวันก่อนผ่าตัด
หลังผ่าตัด
สังเกตอาการบวมนูน
ดูแลความสะอาดของสายสวนนปัสสาวะ
ประเมินความเจ็บปวด
จัดให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับปริมาณเลือดที่ออก
วันแรกห้ามลุกนั่งป้องกัยนนไม่ให้ท้องผูก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ทำให้อุจจาระนิ่ม
ไม่ควรสวนอุจจาระ
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
ระคายเคืองผิวหนัง เกิดบาดแผล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
สมรรถภาพทางเพสสลดลง
ด้านจิตใจ
คุณค่าในตัวเองลดลง
แยกตัวจจากสังคม
กลไกการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
เป็นการทำงานร่่วมกันนระหวว่าง สมอง ก้านสมอง ไขสันหลัง
เมื่อปัสสาวะถูกกรองลงมาาที่กระเพาะปัสสาวะเมื่อยืดตัวถึง150 มล.จะส่งสัญญาณไปที่สมองโดยผ่านไขสันหลัง
สมองรับควาามรู้สึก แปลสั่งการ
ชนิด
กลั้นไม่อยู่แบบชั่วคราวหรือเฉียบพลัน
DIAPPEERS หลักการประเมิน
กลั้นไม่อยู่แบบเรื้อรัง
Functional incontinence
ไม่ได้เกิดจากพยาธิสภาพ
สมองเสื่อม
ซึมเศร้า
Stress incontinence
พบในเพศหญิงมากกว่า
ปัสสาวะเล็้ดเมื่อมีแรงดันในช่องท้องมากขึ้น เช่น ไอ จาม ยกของหนัก ออกกำลังกาย
Urge incontinence
ปัสสาวะเล็ดร่วมกับรู้สึกปวดถ่ายอย่างรุนแรง
ต้องรีบเข้าห้องน้ำทันที
Overflow incontinence
ปัสสาวะเล็ดเนื่องจากกระเพาะปัสสาวะยืดขขยยายมีน้ำปัสาวะเต็มละล้นออกมา
เกิดจากการอุดกั้นขอองทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะหยดหลังถ่ายเสร็จ
อาจเกิดจากเบาหวาน
การทำ voiding diary
การจดบันทึกปริมาณน้ำดื่มและเครื่องดื่มทุกชนนิดและปริมาณปัสสาวะที่ขับถ่ายออกมา
จดแยยกเป็นกลางวันและกลางคืน
ทำต่อเนื่องประมาณ 3-4 วัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ดูว่าปัสสาวะติดเชื้อหรือไม่
ตรวจปริมาณน้ำตาลในปัสสาวะ
ประเมินปัสสาวะตกค้าง
Ureflwmetry
Cystometry
Cystorethroscopy
การรักษา
รักษาเชิงพฤติกรรม
ฝึกกระเพาะปัสสาวะ
ฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
อุปกรณ์ช่วยบริหารช่องคลอด
การรักษาโดยใช้ยา
การรักษาโดยการผ่าตัด
กระดูกพรุน osteoporosis
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เพศและอายุ
เชื้อชาติ พันธุกรรม คนเอเชียยผิวขาวมีโอกาาศเป็นมากกว่า
รูปร่างเล็กผอม
โรคประจำตัว
รูปแบบการดำเนินชีวิตที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
ไม่ได้เคลื่อนไหวหรือขาดการออกกำลังกาย
รับประทานอาหารรสเค็มจัด
รับประทานอาหารโปรตีนสูง ขาดวิตามินดี
อาการและอาการแสดง
ปวดหลัง
น้ำหนักลด
กล้ามเนื้อเกร็งเฉพาะบั้นเอว
การก้มทำได้น้อยกว่าการแหงนเหยียด
Dowager’s hump กะดูกสสันหลังโค้งสันหลังซ้ำๆ
การวินิจฉัย
ใช้ dual energy x-ray absorptionmetry (DEXA)
การวินิจฉัยกระดูกพรุน
นำค่าไปเปรียบเทียบกับค่าปกติของคนในเพสเดียยวกัน
เป็นเครื่องมือที่เหมาะสมที่สุด
การรักษา
รักษาโดยไม่ใช้ยา
ได้รับปริมาณแคลเซียมเพียงพอ
วิตามินดี
การปรับเปลลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อดรคกระดูกพรุน
การออกกำลังกาย
การพยาบาลดูแลให้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ประเินติดตามอาการปวด
ให้การดูแลด้านอารมณ์
ให้ยยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ข้อเสื่อม
oosteoartheritis : OA
ลักษณะสำคัญ
มีการเสื่อมทำลายของกล้ามเนื้อและกระดูกบริเวณข้อ โดยไม่มีการอักเสบของข้อ
เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับข้อที่เคลื่อนไหวได้
พบมากในวัยที่สูงอายุ
กระดูกอ่อนผิวข้อเสื่อมเป็นรอยถลอกกร่อนไไป ร่วมกับการมีการสร้างกระดูกใหม่บริเวณขอบข้อ
ปัจจัยชักนำ
อายุ
การใช้งานข้อที่มากเกินไป
โรคอ้วน
ขาดวิตามินซีและดี
กรรมพันธุ์
อาการแสดง
ข้อเสื่อมมักเป็นหลายข้อ
ข้อบวมผิดรูป
ข้อฝืด
อาจพบขาโก่ง
ข้อบวมผิดรูป
สูญเสียยการเคลื่อนไหวของข้อ
การวินิจฉัย
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
การถ่ายภาพรังสสีพบช่องว่างระหว่างกระดกเข่าแคบลง
การเจาะเลือด เพื่อแยกวินิจฉัยโรค
การตรวจน้ำหล่อเลี้ยยงเข่า
กาารรักษา
รักษาไม่หายจึงมีเป้าหมายเพื่อ
บรรเทาอาาการปวดลดการอักเสสบ
แก้ไขหรือคงสภาพ
ป้องกันและชะสลอภาวะแทรกซ้อน
มีคุณรภาพชีวิตใกล้เคียงคนปกติ
รักษาโดยไม่ใช้ยา :
การลดน้ำหนัก
หลีกเลี่ยงการขึ้นบันได้บ่อยๆ
นั่งเก้าอี้แทนการนั่งพื้น
บริหารข้อ ยืดเหยียดกล้ามมเนื้อ
แอโรบิกชนิดเเรงกระแทกต่ำ
งดการยกของหนััก
เดินเร็วหรือว่ายน้ำเพื่อกระตุ้นให้้กระดูกแข็งแรง
ใช้ไม้เท้าค้ำเวลาลุกขึ้นยืน
ประคบอุ่นเวลาปวดเข่า
ก้าวบันได้ใช้้ขขาข้างดีขึ้นก่อน
บริหารกล้าามเนื้อ
รัษาโดยใช้ยา
ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยาบำรุงกระดูกอ่อน
ใช้น้ำหล่อเลี้ยงข้อชนิดเทียม
การผ่าตัด
ได้ผลดีโรคแทรกซ้อนไม่มาก
ผ่าตัดแก้ความโก่งงอของเข่าได้แต่นานกว่าจะใช้งานได้
ผ่าตัดโดยส่องกล้อง เหมาะสำหรับคนที่ข้อเสื่อมไม่่มาก
ผ่าตตัดใส่ข้อเข่าเทียม แทนข้้อที่เสื่อม ทำให้หายปวด คุณภาาพชีวิตดีขึ้น
พรลภัส ไทยธัญญพานิช
66106010039
Sec B02