Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการโรคที่พบบ่อย2 - Coggle Diagram
กลุ่มอาการโรคที่พบบ่อย2
-
แท้งบุตร (abortion)
-
การแท้งส่วนใหญ่จะเกิดในช่วง 13 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์ ดังนั้นช่วงนี้เป็นช่วงที่คุณแม่ต้องดูแลตัวเองโดยการลดความเสี่ยงของการแท้ง
สาเหตุ
สาเหตุของการแท้งมีได้หลายสาเหตุ แต่สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือเกิดความผิดปกติของโครโมโซมซึ่งอาจจะเกิดความ ผิดปกติที่ไข่ หรือตัวเชื้ออสุจิ หรือช่วงที่ตัวอ่อนแบ่งตัว สาเหตุอื่นๆได้แก่
-
-
-
เกี่ยวกับวิถีการดำเนินชีวิตของคุณแม่ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การดื่มกาแฟปริมาณมาก การขาดสารอาหาร การสัมผัสรังสีหรือสารเคมี เป็นต้น
-
ชนิดของการแท้งบุตร
-
nevitable or Incomplete abortion แท้งหยุดไม่ได้ มีอาการปวดหลังร่วมกับเลือดออกและปาดมดลูกเปิดแล้ว และอาจจะมีน้ำคล่ำไหล อาการปวดท้องจะมีอยู่จนกระทั่งตัวอ่อนไหลออกหมด
Complete abortion แท้งครบหรือสมบูรณ์ คือตัวอ่อนและรกออกมาหมด เลือดจะออกน้อยลง ปวดท้องก็จะลดลง ตรวจ ultrasound จะไม่พบตัวอ่อน
Missed abortion หมายถึงการแท้งโดยที่คุณแม่ไม่ทราบว่าแท้ง และตัวอ่อนยังไม่ถูกขับออกทราบได้จากการทำultrasound พบตัวอ่อนที่เสียชีวิตแล้วในมดลูก
-
การดูแล
ระวังเลือดออก และการติดเชื้อ หากตั้งครรภ์อ่อนแล้วแท้ง ร่างกายก็สามารถขับตัวอ่อนและรกออกหมด แต่หากขับไม่หมดมีเลือดออกจะต้องทำการขูดมดลูก หากพบว่าเลือดออกไม่หยุด และมีไข้สูงหนาวสั่นต้องรีบไปพบแพทย์
การป้องกันการแท้ง
เนื่องจากการแท้งส่วนใหญ่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม ดังนั้นจึงไม่มีทางป้องกันได้ ดังนั้นก่อนการตั้งครรภ์ควรจะดูแลตัวเองให้แข็งแรง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ภาวะบวม (Edema)
อาการบวมสารน้ำ หมายถึง ภาวะที่มีสารน้ำขังอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ (interstitial tissue) จนเกิดอาการบวมให้เห็นทางภายนอก โดยเกิดจากความผิดปกติของกลไกการควบคุมแรงดันในร่างกายที่มีอยู่ 2 ระบบ คือ
-
Oncotic Presssure หรือแรงดูดกลับ คือ แรงที่ทำหน้าที่ในการดึงดูดน้ำไว้ภายในหลอดเลือด แรงนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณโปรตีนภายในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัลบูมิน (Albumin)
สาเหตุของภาวะบวม
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ทำให้ภายในหลอดเลือดมีแรงดันสารน้ำออกสู่เนื้อเยื่อเพิ่มมากขึ้น พบในภาวะที่มีการคั่งของเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาวะเลือดคั่งจากหัวใจล้มเหลวหรือภาวะที่ได้รับโซเดียมสูงเกินไป
Oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง พบได้ในภาวะที่มีโปรตีน โดยเฉพาะอัลบูมินในเลือดลดลง ซึ่งอาจเกิดจากการเสียโปรตีนทางปัสสาวะที่พบในกลุ่มโรคไตชนิดเนฟโฟรติก (nephrotic syndrome) หรือเกิดจากการสร้างโปรตีนได้น้อยที่พบในผู้ป่วยโรคตับแข็งและผู้ที่มีภาวะ ขาดสารอาหารรุนแรง เป็นต้น
ภาวะการคั่งของน้ำและเกลือแร่ (Salt and water retention) พบได้ในภาวะการทำงานของไตผิดปกติ มีการลดลงของการกรองโซเดียม เช่น ภาวะไตวายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีผลต่อการคั่งของโซเดียมในท่อไต ทำให้มีการดูดกลับน้ำเพิ่มขึ้น hydrostatic pressure ก็เพิ่มขึ้นด้วย ถ้าภาวะหัวใจวายไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ การดูดกลับน้ำที่เพิ่มขึ้นนี้ก็จะทำให้การบวมแย่ลงไปอีก พยาธิสภาพที่สำคัญที่จะพบได้คือ ภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)
การสูญเสียความสามารถในการซึมผ่านของสารน้ำในผนังหลอดเลือดฝอย (vascular permeability) พบได้ในการบวมที่เกิดในกระบวนการอักเสบ เช่น การหลั่งของสารฮิสตามีน (histamine)
การอุดตันของต่อมน้ำเหลือง (Lymphatic obstruction) ส่งผลให้การดูดกลับสารน้ำส่วนเกินทางท่อน้ำเหลืองเสียไป ส่วนใหญ่แล้วการบวมจากสาเหตุนี้มักเป็นเฉพาะที่ เช่น โรคเท้าช้าง การบวมของเต้านมเนื่องจากเซลล์มะเร็งอุดกั้นท่อน้ำเหลือง และการบวมของแขนหลังการผ่าตัดมะเร็งที่มีการเลาะต่อมน้ำเหลือง ทำให้ทางเดินปกติของน้ำเหลืองเสียไป เป็นต้น
ซีด (pallor)
อาการที่สีของผิวหนัง (หน้า ริมฝีปาก ลิ้น เล็บ มือ เท้า ที่ด้านในของเปลือกตา หรือที่อวัยวะอื่นๆ ของร่างกายที่สามารถมองเห็นได้) ดูจางลง เนื่องจากไม่มีเลือดฝาด
เป็นอาการที่วินิจฉัยได้ไม่ยาก เพราะอาศัยการดูความเข้มของสี (เลือด) ของผิวในบริเวณต่างๆ ที่กล่าวถึงข้างต้นด้วยตาเปล่าแล้วเปรียบเทียบกับคนทั่วไป อาการซีดเนื่องจากไม่มีเลือดฝาด
-
-
อาการซีดจากโรคโลหิตจาง
1.การเสียเลือด
1.1 การเสียเลือดอย่างรวดเร็ว เช่น การตกเลือด เนื่องจากถูกแทง ถูกยิง หรือมีบาดแผล การตกเลือดจากแผลในกระเพาะ ลำไส้ การตกเลือดจากการคลอดหรือแท้งบุตร เป็นต้น
-
- การทำลายเม็ดเลือดแดง (เม็ดเลือดแดงแตก)
2.1 โรคไข้มาลาเรีย เกิดจากพยาธิมาลาเรียที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง ทำลายเม็ดเลือดแดง แล้วกระจายเข้าสู่กระแสเลือด
-
-
-
- การขาดเหล็กและสารจำเป็นสำหรับการสร้างเม็ดเลือดแดง
การไม่กินอาหารจำพวกไข่ และเนื้อสัตว์ (มังสวิรัติ) มักทำให้ขาดธาตุเหล็ก ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับการสร้างสารเลือดแดง (hemoglobin) สำหรับเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงมีสีจางลง จึงทำให้สีของผิวหนังซีด
การขาดวิตามินบางชนิด เช่น ในกลุ่มของวิตามิน บี (เช่นวิตามิน บี 1 บี 2 บี 6 บี 12 โฟลิค) วิตามิน ซี เป็นต้น
-
- การที่ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงไม่พอ
โรคทางกรรมพันธุ์บางชนิดที่ทำให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ เช่น โรคธาลัสซีเมีย โรคเม็ดเลือดแดงกลมตามพันธุ์ (hereditary spherocytosis) โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว (sickle-cell anemia) เป็นต้น
-
-
ไขกระดูกฝ่อ (aplastic or hypoplastic anemia) ซึ่งอาจเกิดจากพิษของยา เช่น ยาปฏิชีวนะพวกคลอแรมเฟนิคอล (chloramphenical)
-
การที่มีเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ ทางการแพทย์จะหมายถึง การที่ระดับค่าฮีโมโกลบินในเลือดต่ำกว่า 13 กรัม / เดซิลิตรในผู้ชายหรือ 12 กรัม / เดซิลิตรในผู้หญิง
ถ้าคิดเป็นค่าฮีมาโตคริต คือความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง ต่ำกว่า 39 และ 36 เปอร์เซ็นต์ ในผู้ชายและผู้หญิงตามลำดับ
การวินิจฉัย
-
-
-
การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น ตรวจอุจจาระ ปัสสาวะ เอกซเรย์ เจาะไขกระดูก ใช้กล้องส่องตรวจกระเพาะอาหารหรือลำไส้ใหญ่ เป็นต้น
-
-
-
อ่อนเพลีย
เป็นความรู้สึกเหนื่อยล้าอ่อนเพลีย, เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าหรือขาดพลังงาน
สาเหตุ
-
-
-
-
Sleep disorders such as ongoing insomnia , obstructive sleep apnea , or narcolepsy หลับผิดปกติเช่นนอนไม่หลับ หยุดหายใจขณะหลับอุดกั้น
-
-
-
-
Arthritis, รวมทั้ง โรคไขข้อ
-
-
-
-
การติดเชื้อโดยเฉพาะที่ใช้เวลานานหรือการกู้คืนจากการรักษาเช่น เยื่อบุหัวใจอักเสบจากแบคทีเรีย (, การติดเชื้อปรสิต, โรคเอดส์ วัณโรค
-
-
-
-
-
-
ปวดกล้ามเนื้อ
-
นิยามของโรคนี้ คือ กลุ่มอาการปวดจากปมกล้ามเนื้อหดตัวซึ่งเป็นบริเวณที่ขาดเลือดไปเลี้ยงและแสดงอาการปวดออกมาเฉพาะแบบตามแต่กล้ามเนื้อนั้นๆ และทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง มีอาการชา รวมถึงระบบประสาทอัตโนมัติผิดปกติ เช่น เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว ตาแดง น้ำตาไหล
โรคนี้พบได้บ่อยในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ประมาณ 2.4:1 เท่า อายุที่พบบ่อยคือ ช่วงวัยทำงานเฉลี่ย 31-50 ปี และพบตามแกนกลางกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ เช่น คอ หลัง สะบัก
-
สาเหตุ
-
-
๓. การออกแรงอย่างหนักของกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการคั่งของกรดแล็กติก ทำให้กล้ามเนื้อล้าและปวด อาการปวดจะกระตุ้นกล้ามเนื้อให้เกร็งแข็งโดยอัตโนมัติ (muscle spasm)
ปัจจัยกระตุ้น
การบาดเจ็บรุนแรงเฉียบพลัน (Macrotrauma) เช่น อุบัติเหตุศีรษะกระแทก ทำให้กล้ามเนื้อคอ บ่าไหล่หดเกร็ง หันคอไม่สุด รู้สึกมึนและวิงเวียนศีรษะ
-
-
-
-
การบาดเจ็บไม่รุนแรงแต่เรื้อรัง (Microtrauma) เช่น อยู่ในท่าที่ไม่ถูกต้องเป็นเวลานาน (เกร็งยักบ่าไหล่ ห่อไหล่) ยกของผิดท่า
การวินิจฉัย
-
-
กดเจ็บเฉพาะที่ (Regional pain) และแสดงอาการปวดร้าวไปตามอาการที่ปรากฏ (Reproducible refer pain) จำกัดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อที่ก่ออาการนั้นๆ
การรักษา
-
- หาสาเหตุและแก้ปัจจัยกระตุ้นที่เป็นต้นเหตุเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
- การปรับท่าทางที่ถูกต้องในการทำงาน ปรับโต๊ะ เก้าอี้ที่ทำงาน
- หาวิธีกำจัดความเครียด ฝึกผ่อนคลาย
- การแบ่งงานเป็นกะ ไม่ทำงานหักโหมเกินไป
- การออกกำลังแบบแอโรบิก ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และเป็นการผ่อนคลาย
- การออกกำลังกายเฉพาะส่วน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อให้ทนต่องานมากขึ้น เช่น กล้ามเนื้อบริเวณบ่าไหล่ หลังส่วนบน
- การทำกายภาพบำบัด เพื่อรักษาต้นเหตุของโรคบางกลุ่ม เช่น การดึงคอ ดึงหลังในกลุ่มโรคหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท
-
-
โรคปวดข้อ
-
-
โรคของเนื้อเยื่อรอบข้อ
โรคเส้นเอ็นเสื่อม
เส้นเอ็นเมื่อใช้งานมานานๆ ก็เสื่อมสภาพได้ แล้วก็จะมีหินปูนมาจับเกาะอยู่ที่เส้นเอ็น เช่น ข้อศอกเทนนิส(Tennis Elbow)
บางครั้ง คนไข้สูงอายุใช้ข้อมือบ่อย ทำให้เป็นเส้นเอ็นข้อมืออักเสบ ในคนที่เป็นเบาหวานพบว่ามีเส้นเอ็นนิ้วมืออักเสบชนิดมีพังผืดรัดได้บ่อย ทำให้นิ้วมือดีดเด้งได้ (Trigger finger) การรักษาใช้วิธีฉีดยาเป็นส่วนใหญ่ เพราะกินยาแล้วไม่ค่อยได้ผลแล้วยังมีผลข้างเคียงแถมมาอีก ปัจจุบันไม่นิยมผ่าตัดถ้าไม่จำเป็นจริงๆ
-
โรคเก๊าต์
เกิดจากกระบวนการใช้ และขับถ่ายสารพวกพิวรีนของร่างกายผิดปกติไป พิวรีนเป็นธาตุอาหารที่พบได้ในเนื้อสัตว์ ข้าวสาลี เครื่องในสัตว์ (ตับ, เซี่ยงจี้) เป็นต้น ซึ่งจะถูกย่อยจนกลายเป็นกรดยูริค และจะขับออกมาพร้อมกับปัสสาวะ ในคนปกติกรดยูริคจะถูกสร้างขึ้นในอัตราช้าพอที่ไตจะขับออกได้หมดทันกับการ สร้างขึ้นพอดี
-
สำหรับบางรายที่กรดยูริคถูกสร้างขึ้น แต่ไตทำหน้าที่ขับถ่ายออกมาได้ช้า หรือเร็วก็ตามจะทำให้เกิดการสะสมของกรดยูริคมากขึ้นในร่างกาย เป็นสาเหตุให้เกิดการเจ็บปวดอย่างรุนแรงในข้อกระดูกหรือรอบ ๆ ข้อกระดูก
โรคเก๊าต์เทียม
ไม่ได้เกิดจากกรดยูริค แต่ เกิดจากการมีผลึกปูนเกาะที่ข้อ ทำให้เกิดการอักเสบรุนแรง เช่น ที่ข้อเข่า ข้อมือ หรือที่ข้อตะโพก
เป็นโรคข้ออักเสบจากผลึกเกลือชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Calcium pyrophosphate dihydrate สามารถก่อให้เกิดการอักเสบเลียนแบบโรคเก๊าท์แท้ได้ จึงเรียกว่าโรคเก๊าท์เทียม
-
-
โรคตะคริว
สาเหตุการเกิดยังไม่ทราบแน่ชัด มีหลายทฤษฎี อาจเกิดจากการที่เอ็นและกล้ามเนื้อไม่ได้มีการยืดตัวบ่อยๆ ทำให้มีการหดรั้ง เกร็งได้ง่ายเมื่อมีการใช้กล้ามเนื้อนั้นมากเกินไป นอกจากนั้นยังอาจเกิดจากเซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่ควบคุมการหดและคลายตัว ของกล้ามเนื้อทำงานผิดปกติไป และประการสุดท้ายอาจเกิดจากการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อไม่ดีพอซึ่ง มักพบในคนที่มีโรคที่ทำให้หลอดเลือดตีบ เช่น โรคเบาหวาน เป็นต้น
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
โรคข้ออักเสบเรื้อรังที่เกิดจากความผิดปกติ ของระบบภูมิคุมกันของร่างกาย โดยมีการหลั่งสารออกมาทำลายเยื่อบุข้อ ทำให้เยื่อบุข้อมีการอักเสบหนาตัวขึ้น มีการสร้างน้ำไขข้อเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการปวด บวม แดงร้อนที่ข้อและข้อฝืดแข็ง เมื่อกระบวนการอักเสบเกิดขึ้นเรื้อรังและไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องจะทำ ให้เกิดการทำลายข้อ กระดูก กระดูกอ่อนผิวข้อและส่วนประกอบอื่นๆของข้อ ทำให้ข้อเกิดอาหารผิดรูปได้
-
โรคลูปัส หรือเอส แอล อี
สาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดโรคยังไม่ทราบแน่นอน จากการวิจัยค้นคว้าอย่างมากมายทั้งในคนและสัตว์ทดลอง พอจะสรุปได้ว่ามีเหตุปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน โดยส่วนหนึ่งเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์ของผู้ป่วยร่วมกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น การติดเชื้อไวรัสบางชนิด การได้รับสารพิษหรือสารเคมีบางอย่าง แล้วทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยนั้นมีการตอบสนองที่ผิดปกติไป
-
-
-
โรคไต
โรคไตบางชนิดมีความผิดปกติเกิดขึ้นภายในส่วนที่ทำหน้าที่กรองเลือด ทำให้โปรตีนในเลือดหรืออัลบูมินรั่วออกทางปัสสาวะ เมื่อโปรตีนในเลือดต่ำลงจะทำให้เกิดอาการบวม
อาการบวมนี้ อาจเกิดได้ในโรคไตหลายชนิด เช่น โรคไตอักเสบชนิดเนโฟรติค ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) ซึ่งเป็นโรคที่มีการรั่วของโปรตีนออกมากับปัสสาวะในปริมาณมาก หรือโรคไตเรื้อรังที่มีการเสื่อมของไต ทำให้มีการคั่งของน้ำและเกลือแร่ในร่างก
โรคหัวใจ
การบวมในผู้ป่วยโรคหัวใจโดยมากมักเกิดจากการที่หัวใจห้องขวาล่างทำงานลดลง ทำให้เลือดจากขาไม่สามารถไหลเข้าสู่หัวใจด้านขวาได้สะดวก จึงมีเลือดค้างอยู่ที่ขามากขึ้น อาการบวมที่เกิดกับผู้ป่วยโรคหัวใจจะมีลักษณะสมมาตรคือจะบวมที่ขาทั้งสอง ข้าง และมีอาการหายใจหอบเหนื่อย ซึ่งพบได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว หรือมีปัญหาที่หลอดเลือดดำที่ขา นอกจากนี้โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบเรื้อรังก็ทำให้เกิดอาการเช่นนี้ได้เช่น กัน
โรคตับ
ตับแข็ง เริ่มแรกจะมีอาการอ่อนเพลีย มีไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย และดีซ่าน ต่อมาจึงมีอาการบวมที่เท้าและขาทั้งสองข้าง และมีอาการท้องบวมโตกว่าปกติหรือที่เรียกว่า ท้องมาน เนื่องจากตับเป็นอวัยวะที่สร้างโปรตีนตัวสำคัญคืออัลบูมิน เมื่อไม่สามารถสร้างอัลบูมินได้ ก็ขาดตัวดูดกลับหรือ Oncotic Presssure ลดลง ทำให้มีสารน้ำจำนวนมากคั่งในร่างกายดังนั้น ถึงแม้ผู้ป่วยจะมีแขนขาและลำตัวดูซูบผอม แต่จะมีอาการท้องบวมซึ่งอาการอาจทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นได้
โรคเท้าช้าง
คนที่มีอาการมักจะเกิดจากการที่ถูกยุงที่มีเชื้อพยาธิเท้าช้างกัดซ้ำหลายครั้ง อาการในระยะแรก ผู้ป่วยอาจมีไข้ ซึ่งเกิดจากการอักเสบของต่อม และ ท่อน้ำเหลืองบริเวณรักแร้ ขาหนีบ หรืออัณฑะ เนื่องจากพยาธิตัวแก่ที่อยู่ในท่อน้ำเหลืองสร้างความระคายเคืองแก่เนื้อ เยื่อภายใน รวมทั้งมีการปล่อยสารพิษออกมาด้วย อาการอักเสบจะเป็นๆ หายๆ อยู่เช่นนี้ และจะกระตุ้นให้เกิดอาการบวม
อาการขาโตเกิดจากการที่มีพยาธิโรคเท้าช้างตัวแก่ที่ตายแล้วหรือยังมีชีวิต อยู่ได้เข้าไปอุดตันท่อน้ำเหลือง ทำให้เกิดการระคายเคืองในท่อน้ำเหลือง รวมทั้งปล่อยสารพิษที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ
-