Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การฟื้นฟูสภาพ และการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ, นางสาวญาณิศา…
หน่วยที่ 9 การฟื้นฟูสภาพ
และการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
แนวคิดเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วยด้วยโรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการ
หรือต้องรักษาติดต่อกันนาน หรือ ตลอดชีวิต
เป็นความบกพร่องหรือเบี่ยงเบนจากปกติ 1 อย่างหรือมากกว่า คือ
มีความพิการหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับคือสู่ปกติ
ต้องการการฟื้นฟูสภาพ
ต้องการการติดตามอาการ
และให้การดูแล เป็นระยะเวลานาน
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
สาเหตุ
สารเคมี/มลพิษ
อาหาร
กรรมพันธ์
อุบัติเหตุต่างๆ
เชื้อโรค
สภาพจิตใจ
เสียงดัง แรงสั่นสะเทือน รังสีต่างๆ
ปัจจัยส่งเสริม
อายุ
ฐานะทางเศรษฐกิจ
เชื้อชาติ/ชาติพันธ์ุ
ลักษณะอาชีพ
วัฒนธรรม ค่านิยม
ลักษณะบุคลิกภาพ
พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
ผลกระทบของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ด้านร่างกาย
ความสามารถในการภาวะโภชนาการผิดปกติ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การรับความรู้สึกและการตอบสนองผิดปกติ
การขับถ่ายผิดปกติ
พักผ่อนไม่เพียงพอ
มีข้อจำกัดในการมีเพศสัมพันธ์
ความสามารถในการรับรู้และการดูแลสุขภาพลดลง
ทำกิจกรรมลดลง
ด้านจิตสังคม
วิตกกังวล (Anxiety)
ซึมเศร้า (Depression)
ภาวะหมดหนทางช่วยเหลือ (helplessness
ภาวะไร้พลัง (powerlessness)
ครอบครัว
เศรษฐกิจและสังคม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะไร้พลัง
(Powerlessness)
ความรู้สึกสูญเสียจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ผู้ป่วยจะรู้สึกว่าสูญเสีย ความหวังในอนาคต สมรรถภาพทางเพศลดลง คุณภาพชีวิตแย่ลง
รู้สึกต้องพึ่งพา
ขาดความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง โอกาสในการมีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็นในการรักษาตนอง ถูกละเลยให้รอคอยการรักษา การถูกรักษาโดยไม่บอกเหตุผล หรือไม่บอกล่วงหน้า
ความรู้สึกแปลกแยกในสังคม
ขาดแหล่งช่วยเหลือ ขาดพาหนะในการมาพบแพทย์ ต้องอยู่ตามลำพัง
วัฒนธรรมในบางสังคม มองบุคคลที่เจ็บป่วยเรื่อรังเป็นบุคคลที่ไร้ประโยชน์ ไม่สามารถสร้างความเจริญให้กับ
สังคมได้อีกต่อไป
วิถีทางของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ช่วงเวลาของการเจ็บป่วยที่ใช้เวลานาน รวมถึงการปฏิบัติตนของผู้ป่วย ครอบครัว บุคคลากรสุขภาพใน
การบริหารช่วงเวลาที่เกิดการเจ็บป่วย
ถูกกำหนดโดยพยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางด้นสุขภาพความแตกต่างกัน
ในแต่ละบุคคลถึงแม้ว่าจะเกิดโรคเหมือนกัน
ก็อาจจะถูกกำหนดรูปแบบ
หรือถูกเปลี่ยนแปลงโดยการกระทำของผู้ป่วย ครอบครัว
การพยาบาล
เป้าหมายคือ การส่งเสริมและ
คงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยและครอบครัว
ให้ความสำคัญในการแก้ไขความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทั้งด้านร่างกาย จิตสังคม
จิตวิญญาณและวัฒนธรรม
บทบาทพยาบาล
เป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุน ให้เกิดพฤติกรรมการดูแลตนแองอย่างมีประสิทธิภาพ
มีทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย
สนับสนุนให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีการผชิญความครียดได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
ให้ผู้ป่วยมีการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการ
ปฏิบัติกิจกรรมนั้นด้วย
ส่งเสริมและพัฒนาการรับรู้สมรรถนะของตนเอง
การพยาบาลเพื่อควบคุมอาการ
ดูแลภาวะโภชนาการ
ส่งเสริมการทำกิจกรรมเพื่อลดความวิตกกังวล
ให้การพยาบาลแบบองค์รวม
ที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
ดูแลให้ได้รับยาอย่างสม่ำเสมอ
ให้ความรู้ คำแนะนำ และส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
มีการวางแผนติดตาม
ผู้ป่วยให้ปฏิบัติการฟื้นฟูสภาพอย่างเป็นระบบ
ประสานงานกับโรงพยาบาล
และแนะนำแหล่งประโยชน์
ในชุมชนที่สามารถ
ช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพต่อไป
วางแผนการพยาบาลเพื่อ
พื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม
ตั้งแต่อยู่ในรงพยาบาล
และต่อเนื่องที่บ้าน
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับไปฟักฟื้นที่บ้าน
ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆ
ในการฟื้นฟูสภาพ
แก่ผู้ป่วยและญาติ
อย่างเพียงพอ
การพยาบาลเพื่อป้องกันอาการกำเริบรุนแรงซ้ำ
ประเมินความสมารถในการดูแลตนแอง สาเหตุและอุปสรรคในการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยและครอบครัว
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
เพื่อให้มีทักษะในการดูแลตนเอง
หากผู้ป่วยและครอบครัวไม่เห็นความสำคัญของการดูแลตนเอง
ตามที่ให้คำแนะนำ ต้องประเมินหาสาเหตุ เพื่อนำมาปรับปรุง
แก้ไขให้สอดคล้องกับผู้ป่วยแต่ละราย
การพยาบาลเพื่อคงไว้ซึ่ง
การดำเนินชีวิตอย่างผาสุก
มีทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย *เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าระบายความรู้สึก
ประเมินความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยเรื้อรัง
ให้ผู้ปวยมีส่วนร่วมในการตัดสินในเกี่ยวกับการรักษา
สนใจและให้เวลาแก่ผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
จัดกิจกรรมที่ส่งสริมความมีคุณคำในตนอง และเสริมสร้างพลังอำนาจในตนเองแก่ผู้ป่วย
จัดหาแหล่งสนับสนุนทางสังคม
การฟื้นฟูสภาพ
การฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ความแตกต่างด้านสังคม สิ่งแวดล้อม
ปรับตัวเข้ากับสังคมยาก มีสภาพร่างกายที่บกพร่องกว่าวัยอื่น ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ
ความแตกต่างด้านจิตใจ
ความเชื่อ การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และความรู้สึนึกคิด ซึมเศร้า การขาดแรงจูงใจ
ความแตกต่างด้านการตั้งเป้าหมายการรักษา
ความแตกต่างทางร่างกาย
มีโรคเรื้อรังหลายโรค ความสมารถในการทำหน้าที่ของระบบต่างๆ ลดลง
การวางแผนการพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูสภาพ
ประเมินสภาวะ พฤติกรรม
และความพร้อมของผู้ป่วย
วางแผนปฏิบัติเพื่อการฟื้นฟูสภาพ
ส่งต่อข้อมูลแก่สถานบริการในชุมชน รวมทั้งประสานกับหน่วยงานในชุมชน ทั้งรัฐและเอกชน
ให้ผู้ป่วยมีความสมารถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนตัว
แนะนำครอบครัวเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ โดยมุ่งนันเรื่องการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการวางแผน
มีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย (Discharge planning)
การให้ความรู้และการสอนหรือแนะนำ ตั้งแต่เริ่มตันการฝึกทักษะ
การรักษาสมดุลของร่างกาย เช่น
การไหลเวียน การป้องกันการติดเชื้อ
ภาวะทุพโภชนาการ
การวางแผนการจำหน่ายและส่งต่อ
ประเมินสภาพของผู้ป่วยตามแบบฟอร์มที่กำหนดของหน่วยงาน
วางแผนการดูแลที่บ้านให้เร็วที่สุดเท่าที่
จะทำได้--> ตั้งแต่แรกรับไว้ในโรงพยาบาล
โดยการประเมินเป็นองค์รวมของบุคคล
รวบรวมข้อมูลกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่บ้านของผู้ป่วย
--> จากญาติ นักสังคมสงเคราะห์
ส่งต่อผู้ป่วยไปหน่วยงานอื่นที่ต้อง
ให้การดูแลต่อไป เช่น สถานสงเคราะห์
ให้ความรู้ครอบครัวและผู้ดูแล เพื่อให้เข้าใจ
ไม่กลัว หรือคับข้องใจที่จะดูแล
วางแผนร่วมกับ ผู้ป่วย ครอบครัว ผู้ดูแล เพื่อหาแนวทาง และกำหนดแผนที่สามารถปฏิบัติได้จริงไว้ล่วงหน้า
ช่วยเลือกการใช้อุปกรณ์ต่างๆ
ให้เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วย
มีจุดมุ่งหมายเพื่อคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะของร่างกาย
ป้องกันความพิการ ภาวะแทรกซ้อน และสามารถช่วยเหลือดูแลตนเองได้ แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ต้องรักษาพยาธิสภาพ
ให้การป้องกัน ฟื้นฟูสภาพสิ่งที่ผิดปกติ ช่วยในการปรับตัว
ของทั้ผู้สูงอายุ ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดล้อม
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
A - Atypical presentation
M - Multiple pathology
P-Polypharmacy
R - Reduce body reserve*
S-Social adversity
การฟื้นฟูสภาพในกลุ่มอาการผู้สูงอายุ
การไม่เคลื่อนไหว
การเดินไม่มั่นคง
ความบกพร่องทางสติปัญญา
การควบคุมการขับถ่ายผิดปกติ
ขั้นตอนในการฟื้นฟูสภาพ
ดำเนินการประเมินผู้สูงอายุอย่างละเอียดโดยครอบคลุม
กำหนดเป้าหมายและแผนการพื้นฟูสภาพที่เหมาะสม
ดำเนินการฟื้นฟูสภาพตามเป้าหมายที่วางไว้
การติดตมประเมินผลเป็นระยะ
ตรวจหาโรค หรือปัญหาที่อาจก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพโดยเร็วเพื่อที่จะดำเนินการตั้งแต่เริ่มแรก
นางสาวญาณิศา พลศักดิ์ 61106010005 B01